ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

เผ่า ศรียานนท์

พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ พ.ศ. 2494 - 2500 เจ้าของคำขวัญ "ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยทำไม่ได้ ในทางที่ไม่ขัดต่อศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามและกฎหมายบ้านเมือง" เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาททางการเมืองสูงมากในช่วงก่อนการรัฐประหาร พ.ศ. 2500

พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2452 ณ ตำบลบางขุนพรหม อำเภอบางขุนพรหม จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของ พันตำรวจโท พระพลาพิรักษ์เสนีย์ (พลุ้ย ศรียานนท์) และนางพงษ์ ศรียานนท์ ครอบครัวมีเชื้อสายพม่า สมรสกับคุณหญิงอุดมลักษณ์ ศรียานนท์ (สกุลเดิม: ชุณหะวัณ) บุตรสาวของจอมพลผิน ชุณหะวัณ

สอบไล่ได้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนเบญจมบพิตร หรือ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ในปัจจุบัน ต่อมาสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ พ.ศ. 2469

พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นนายตำรวจที่ประชาชนชาวไทยในยุคสมัยนั้นรู้จักเป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นเสมือนมือขวาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็น นายกรัฐมนตรีเผด็จการทหารในสมัยนั้น เริ่มแรก พล.ต.อ.เผ่านั้นรับราชการเป็นทหารมาก่อน ก่อนจะย้ายตัวเองมาเป็นตำรวจ

ยุคของพล.ต.อ.เผ่านั้น ถูกเรียกว่ายุค "รัฐตำรวจ" หรือ "อัศวินผยอง" เนื่องจาก พล.ต.อ.เผ่า ได้เสริมสร้างขุมกำลังตำรวจจนสามารถเทียบเท่ากับกองทัพ ๆ หนึ่งเหมือนทหารได้ โดยเริ่มให้มี ตำรวจน้ำ, ตำรวจพลร่ม, ตำรวจม้า, ตำรวจรถถัง ตลอดจนให้มีธงไชยเฉลิมพลเหมือนทหาร จนมีการกล่าวในเชิงประชดว่า อาจจะมีถึงตำรวจเรือดำน้ำ เป็นต้น โดยประโยคที่สะท้อนให้เห็นถึงตัวตนของตำรวจในสมัยนั้น ซึ่งเป็นประโยคของพล.ต.อ.เผ่าเอง คือ "ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยทำไม่ได้ ในทางที่ไม่ขัดต่อศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามและกฎหมายบ้านเมือง" จนได้รับฉายาจากสื่อต่างประเทศว่า "บุรุษเหล็กแห่งเอเซีย"

ในทางการเมือง พล.ต.อ.เผ่า มีฐานะเป็นเลขาธิการพรรคเสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่ถูกกล่าวว่าสกปรกที่สุดในประวัติศาสตร์ เพราะมีตั้งแต่การข่มขู่ผู้ลงคะแนนให้เลือกแต่พรรคเสรีมนังคศิลา มีการเวียนเทียนลงคะแนนกันหลายรอบ ที่เรียกว่า พลร่ม หรือ ไพ่ไฟ และนับคะแนนกันถึง 7 วัน 7 คืน โดยในยุคนั้นประชาชนทุกคนต่างรู้ดีว่า ไม่ควรจะกระทำการใดต่อต้านอำนาจรัฐเพราะอาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เช่น กรณีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 13 เมื่อปี พ.ศ. 2492 หลังเหตุการณ์กบฏวังหลวง หรือการจับถ่วงน้ำ นายหะยีสุหรง อับดุลกาเดร์ ผู้นำอิสลามจังหวัดปัตตานี ที่ทะเลสาบสงขลา เป็นต้น ล้วนแต่เป็นฝีมือตำรวจ โดย พล.ต.อ.เผ่า และเป็นที่รับรู้กันว่าตำรวจเป็นผู้เลี้ยงบรรดานักเลง อันธพาลในยุคนั้นเป็นลูกน้องด้วย ซึ่งเรียกกันว่า "นักเลงเก้ายอด" อันมาจากการที่นักเลงอันธพาลเหล่านั้นสามารถเข้าออกกองบัญชาการตำรวจกองปราบที่สามยอดได้โดยสบาย ซึ่งทำให้เหล่านักเลงอันธพาลเกลื่อนเมือง

จากเหตุการณ์ทั้งหมดนี้ ส่งผลให้กลุ่มนายทหารที่นำโดย พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไม่พอใจ โดยเริ่มทำการปราศรัยโจมตีตำรวจที่ท้องสนามหลวงบนลังสบู่ ที่เริ่มกันว่า "ไฮปาร์ค" และทางตำรวจก็ตอบโต้ด้วยการไฮปาร์คบ้าง จนในที่สุดนำไปสู่การรัฐประหารเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 ซึ่งเหตุการณ์ในวันนั้น พล.ต.อ.เผ่า ยังไม่ได้หลบหนีไปต่างประเทศเหมือนจอมพล ป. แต่ยอมเข้ามอบตัวแต่โดยดี โดยกล่าวว่า "อั๊วมาแล้ว จะเอายังไงก็ว่ามา"

วันรุ่งขึ้น พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ได้ลี้ภัยการเมืองไปอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พล.ต.อ.เผ่า มีทรัพย์สินอยู่มากมาย มีคฤหาสน์หลังใหญ่ติดทะเลสาบที่นครเจนีวา จนครั้งหนึ่งเมื่อนิตยสารต่างประเทศฉบับหนึ่งจัดอันดับมหาเศรษฐี 10 อันดับของโลก ก็มีชื่อของ พล.ต.อ.เผ่า ติดอยู่ในอันดับด้วย

พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจวายเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สิริอายุ 52 ปี

หลวงรัถยาภิบาลบัญชา (เอส.เย.เอมส์) • พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) • เอ.เย.ยาดิน • อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน • พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)

ประชา พรหมนอก • พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ • สันต์ ศรุตานนท์ • โกวิท วัฒนะ • เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส • พัชรวาท วงษ์สุวรรณ • วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี • เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ • อดุลย์ แสงสิงแก้ว • สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง • จักรทิพย์ ชัยจินดา


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคโลหิตจาง โรคธาลัสซีเมีย เท้า ขา นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วมือ มือ ปลายแขน ข้อศอก ไหล่ แขน อวัยวะเพศ ทรวงอก สะดือ ลำตัว ลูกกระเดือก คอ แก้ม ใบหน้า ศีรษะ ชีวกลศาสตร์ ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ กายวิภาคเปรียบเทียบ ศัลยแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด กายสัณฐานวิทยา จุลพยาธิวิทยา กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ กายวิภาคศาสตร์พืช Anatomy แพทยศาสตรบัณฑิต การแพทย์แผนไทย เวชพันธุศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ เวชศาสตร์การกีฬา ศัลยศาสตร์ออร์โทพีดิกส์ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พยาธิวิทยาคลินิก นรีเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์ตกแต่งและเสริมสร้าง ประสาทศัลยศาสตร์ วิทยามะเร็ง วิทยาทางเดินอาหาร โรคภูมิแพ้ หทัยวิทยา การแพทย์เฉพาะทาง รายชื่อคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงเรียนแพทยากร เวชสถิติ เวชระเบียน เวชศาสตร์ฟื้นฟู อาชีวเวชศาสตร์ ตจวิทยา รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ จักษุวิทยา นิติเวชศาสตร์ โสตศอนาสิกวิทยา นรีเวชวิทยา สูติศาสตร์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยศาสตร์ อายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ ขมิ้นอ้อย วาซาบิ ขมิ้น มะขาม กุหลาบมอญ ทับทิม (ผลไม้) Nigella sativa ชะเอมเทศ เปราะหอม ข่า (พืช) ลูกซัด (พืช) ผักชีล้อม เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
246
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24608