ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กรณีพิพาทหมู่เกาะเซ็งกะกุ

กรณีพิพาทหมู่เกาะเซ็งกะกุ ว่าด้วยกรณีพิพาทดินแดนเหนือกลุ่มเกาะร้าง ซึ่งเรียกว่าหมู่เกาะเซ็งกะกุในญี่ปุ่น เตียวหยูในจีนแผ่นดินใหญ่ หรือ Tiaoyutai Islands ในไต้หวัน ประเทศญี่ปุ่นปกครองกลุ่มเกาะดังกล่าวตั้งแต่ ค.ศ. 1895 นอกเหนือจากระหว่าง ค.ศ. 1945 ถึง 1972 ที่สหรัฐอเมริกาปกครองหมู่เกาะดังกล่าว สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) โต้แย้งการเสนอการส่งมอบอธิปไตยคืนให้แก่ญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1971 และได้อ้างสิทธิ์เหนือหมู่เกาะมานับแต่นั้นสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เองก็คัดค้านเช่นกัน ดินแดนดังกล่าวอยู่ใกล้กับเส้นทางเดินเรือสำคัญ แหล่งประมงอันอุดมสมบูรณ์ และอาจมีน้ำมันสำรองอยู่ในพื้นที่

1.จีนได้ค้นพบและบันทึกหมู่เกาะดังกล่าวไว้ในแผนที่การเดินทางไว้ก่อน หมู่เกาะดังกล่าวเป็นชายแดนนอกชายฝั่งของจีนเพื่อใช้ในการป้องกันโจรสลัดญี่ปุ่น (Wokou) ในระหว่างปีพ.ศ. 1911 – 2454 (ค.ศ. 1368-1911) ซึ่งอยู่ในช่วงราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ทั้งนี้ แผนที่แสดงภูมิภาคเอเชียของจีน รวมถึงแผนที่ซึ่งจัดทำขึ้นโดยนักเขียนแผนที่ชาวญี่ปุ่นในช่วงคริสศตวรรษที่ 18 แสดงว่าหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยู เป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน (ขณะที่ ก่อนปี พ.ศ. 2427 ไม่มีข้อมูลอ้างอิงถึงหมู่เกาะดังกล่าวในเอกสารทางการของญี่ปุ่น) ต่อมาญี่ปุ่นยึดครองหมู่เกาะดังกล่าวในปี พ.ศ. 2438 ตามการลงนามในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ ภายหลังจากที่จีนแพ้สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 อย่างไรก็ตาม จดหมายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2428(ค.ศ. 1885) แสดงให้เห็นถึงความวิตกกังวลของญี่ปุ่นเกี่ยวกับการตอบสนองของจีน หากญี่ปุ่นแสดงท่าทีการยึดครองหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยู อย่างเป็นทางการ ซึ่งบ่งชี้ว่าญี่ปุ่นรู้ว่าหมู่เกาะดังกล่าวไม่ใช่ดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ(Terra Nullius) อย่างที่ญี่ปุ่นได้กล่าวอ้างไว้

2.แถลงการณ์พอทสดัมระบุว่า "อำนาจอธิปไตยญี่ปุ่นจะจำกัด อยู่ที่เกาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด เกาะคิวชู เกาะชิโกกุและเกาะเล็กอื่นๆ ที่เรากำหนด ซึ่ง "เรา" หมายถึงผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองที่พบกันที่กรุงพอทสดัม(สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐประชาชนจีน) โดยญี่ปุ่นได้ยอมรับเงื่อนไขของประกาศดังกล่าว

3.จีนออกมาประท้วงการโอนอำนาจการครอบครองหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยู ของสหรัฐฯ เป็นของญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971)ทั้งนี้ จีนอ้างว่า นายเชียงไคเช็ก (Chiang Kai-Shek) หัวหน้าพรรคโกวมินตั๋ง (Guomindang) ล้มเหลวในการต่อต้านการตัดสินใจของสหรัฐฯ ในการให้สิทธิการครอบครองหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยู แก่ญี่ปุ่น เนื่องจากในช่วงดังกล่าว นายเชียงไคเช็กต้องการการสนับสนุนจากทางการสหรัฐฯนอกจากนี้ ในเดือน เมษายน 2555 ไต้หวันปฏิเสธคำเชิญจากจีนที่จะร่วมกันแก้ไขข้อพิพาทดินแดนกับญี่ปุ่น โดยจีนยังคงยืนยันในสิทธิการครอบครองหมู่เกาะดังกล่าว แม้ว่าจะเกิดกรณีพิพาทกับไต้หวัน

ญี่ปุ่นกล่าวอ้างว่า ได้สำรวจหมู่เกาะดังกล่าวช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และพบว่าเป็นดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ (terra nullius) และต่อมาจีนก็มิได้คัดค้านอธิปไตยของญี่ปุ่นบนหมู่เกาะดังกล่าวจนกระทั่งคริสต์ทศวรรษ 1970 ทั้งจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอ้างถึงหลักฐานเอกสารก่อนสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง ซึ่งระบุว่าดินแดนดังกล่าวเป็นของจีน ดินแดนดังกล่าวจึงควรคืนแก่จีนเช่นเดียวกับดินแดนอื่นที่จักรวรรดิญี่ปุ่นได้ส่งมอบคืนเมื่อ ค.ศ. 1945

แม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่มีท่าทีอย่างเป็นทางการกับกรณีพิพาทนี้ หมู่เกาะดังกล่าวปรากฏอยู่ใน U.S. Japan Security Treaty ซึ่งญี่ปุ่นอาจได้รับความช่วยเหลือทางการทหารจากสหรัฐอเมริกาเพื่อปกป้องดินแดนดังกล่าว

เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 2012 รัฐบาลญี่ปุ่นได้ซื้อเกาะที่เหลือสามเกาะในหมู่เกาะดังกล่าวจากผู้ครอบครองเอกชน จนทำให้เกิดการประท้วงต่อต้านญี่ปุ่นครั้งใหญ่ในจีน


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187