ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กร็อง-ปลัส

จัตุรัสหลักแห่งบรัสเซลส์ หรือ กร็อง-ปลัสเดอบรูว์แซล (ฝรั่งเศส: Grand-Place de Bruxelles, ออกเสียง: [???? plas]) และ โกรเทอมาคท์ (ดัตช์: Grote Markt  listen (วิธีใช้?ข้อมูล) ) คือจัตุรัสกลางบรัสเซลส์ซึ่งรายล้อมด้วยเหล่าอาคารเก่าอันสวยงามและกลมกลืนกันทางสถาปัตยกรรม และถือว่าเป็นจัตุรัสที่สวยที่สุดในโลก โดยเฉพาะออแตลเดอวีล (H?tel de Ville de Bruxelles) และแมซงดูว์รัว (Maison du Roi) จัตุรัสแห่งนี้ถือเป็นบริเวณที่สำคัญที่สุดในการท่องเที่ยวและยังถือเป็นจุดหมายตาที่สำคัญแห่งหนึ่งของเบลเยียมอีกด้วย กร็อง-ปลัสแห่งนี้มีขนาดความกว้าง 68 เมตร ยาว 110 เมตร

เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1695 กองทัพฝรั่งเศสกว่า 70,000 นาย นำโดยจอมพลฟร็องซัว เดอ เนิฟวิลล์ ดยุกแห่งวิเยอรัว ได้เปิดฉากถล่มกรุงบรัสเซลส์เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของกองกำลังฝ่ายสันนิบาตออกส์เบิร์กจากการบุกล้อมนามูร์ซึ่งในขณะนั้นเป็นของฝรั่งเศส โดยได้ถล่มด้วยปืนใหญ่และปืนครกจำนวนมากมายเข้าไปยังภายในใจกลางเมืองทำให้เกิดไฟไหม้ใหญ่ไปทั่วนครบรัสเซลส์ในขณะนั้น รวมทั้งสร้างความเสียหายอย่างมากแก่กร็อง-ปลัส และอาคารบ้านเรือนโดยรอบ โดยหลังจากเพลิงสงบลงตัวอาคารของศาลาว่าการนั้นเหลือเพียงแต่โครงเปลือกด้านนอกเท่านั้น

จัตุรัสกร็อง-ปลัสนั้นต่อมาได้ใช้เวลาบูรณะขึ้นใหม่เกือบทั้งหมดกว่าสี่ปีเต็มโดยฝีมือของกลุ่มกิลด์แห่งบรัสเซลส์ โดยมาจากการอนุญาตโดยสภาที่ปรึกษาของเมือง และผู้ว่าการกรุงบรัสเซลส์ในขณะนั้นซึ่งให้ส่งแบบประกวดของกร็อง-ปลัสเพื่ออนุมัติการก่อสร้าง ซึ่งนี่คือสาเหตุที่ตัวอาคารทั้งหมดโดยรอบจัตุรัสนั้นจึงได้สวยงามกันอย่างกลมกลืนในแบบสถาปัตยกรรมที่คล้ายคลึงกัน แม้ว่าจะต้องตั้งอยู่คู่กับศาลาว่าการกรุงบรัสเซลส์ ซึ่งถูกสร้างในแบบสถาปัตยกรรมกอทิก บาโรก และหลุยส์ที่ 14

ต่อมาในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เหล่านักปฏิวัติได้บุกเข้ายึดบริเวณจัตุรัสและทำลายรูปปั้นอันเป็นสัญลักษณ์ของระบบศักดินา และศาสนา อาคารโดยรอบซึ่งสร้างและออกแบบโดยกลุ่มกิลด์ (Guildhalls) ได้ถูกริบเป็นของรัฐและถูกขายทอดตลาด ทำให้ต่อมาตัวอาคารต่างๆนั้นถูกทิ้งร้างและอยู่ในสภาพทรุดโทรมจากมลภาวะ และฤดูกาล และต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ว่าฯ ชาลส์ บุล ได้คืนความงดงามของจัตุรัสนี้ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยให้มีโครงการปรับปรุงและบูรณะอาคารต่างๆให้กลับมาอยู่ในสภาพงดงามเช่นเดิม

จัตุรัสกร็องปลัส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้นยังคงมีสภาพเป็นตลาดจนกระทั่งวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959 และยังคงเรียกว่าเป็น ตลาดใหญ่ หรือ Grote Markt ในภาษาดัตช์ ถนนรายรอบจัตุรัสนั้นยังคงสะท้อนถึงสภาพเดิมในความเป็นตลาด โดยมักจะตั้งชื่อถนนตามห้างร้านต่างๆ เช่น เนย, ชีส, ปลาแฮริ่ง, ถ่านหิน ฯลฯ จุตรัสแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม โดยองค์การยูเนสโกในปีค.ศ. 1998 อาคารหลังหนึ่งในบริเวณจัตุรัสนั้นเป็นของผู้ผลิตเบียร์ ซึ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์เบียร์

จัตุรัสกร็องปลัส ได้รับการโหวตชื่อให้เป็นจัตุรัสที่สวยงามที่สุดในยุโรปเมื่อปีค.ศ. 2010 จากการสำรวจโดยเว็บไซต์ดัตช์ (stedentripper.com) โดยให้ร่วมเสนอชื่อโหวตจัตุรัสต่างๆในทวีปยุโรป ผลการสำรวจนั้นได้คะแนนเหนือจัตุรัสแดงที่กรุงมอสโก และจัตุรัสสตานิสลาสที่น็องซี โดยมีคะแนนตามมาเป็นอันดับที่สอง และสาม ตามลำดับ

ทุก ๆ สองปีในเดือนสิงหาคม จะมีการจัดเทศกาลพรมดอกไม้ ซึ่งจัดขึ้นในบริเวณกร็อง-ปลัสแห่งนี้ โดยประกอบด้วยดอกบีโกเนีย (หรือดอกดาดตะกั่ว) ประมาณกว่าห้าแสนต้นจัดเรียงเป็นลวดลายสวยงามบนขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 77 เมตร คิดเป็นพื้นที่ดอกไม้รวมถึง 1,800 ตารางเมตร เทศกาลนี้เริ่มจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1971 ซึ่งได้รับเสียงตอบรับและคำชมอย่างล้นหลามจนต้องมีการจัดอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน ในช่วงเดือนสิงหาคมจึงเป็นช่วงฤดูท่องเที่ยวของบรัสเซลส์โดยปริยาย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187