ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก (Finno-Ugric languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาเอสโทเนีย ภาษาฟินน์ ภาษาฮังการีและภาษาที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็นกลุ่มย่อยคือกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกและกลุ่มภาษายูกริก

คำว่าฟินโน-ยูกริกยังเป็นที่โต้แย้ง โดยนักภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เห็นว่ากลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกมีความห่างไกลจากกลุ่มภาษายูกริก เช่นเดียวกับที่แตกต่างจากกลุ่มภาษาซาโมเยดิกในไซบีเรีย ซึ่งในอดีตเคยคาดการณ์ว่ากลุ่มภาษาซาโมเยดิกได้แยกตัวออกไปก่อนด้วยการถูกกีดขวางทางภูมิศาสตร์ แล้วจึงแตกออกเป็นกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกและกลุ่มภาษายูกริกในภายหลัง แต่ไม่มีหลักฐานทางภาษาศาสตร์สนับสนุน

ด้วยข้อเท็จจริงที่ว่ากลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกต่างจากภาษาอื่นในยุโรปเพราะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จึงเป็นเหตุผลแรกๆที่รวมภาษาเหล่านี้เข้าด้วยกันเป็นกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก

ภาษาดั้งเดิมของกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกคือภาษาฟินโน-ยูกริกดั้งเดิมซึ่งเป็นบรรพบุรุษของกลุ่มภาษาบอลติก-ฟิน เช่น ภาษาฟินน์ ภาษาเอสโทเนีย ภาษากลุ่มยูกริก เช่น ภาษาฮังการี และภาษากลุ่มยูราลิกอื่นๆยกเว้นกลุ่มภาษาซาโมเยดิก บรรพบุรุษของภาษานี้คือภาษายูราลิกดั้งเดิม ซึ่งได้แยกออกเป็นภาษาฟินโน-ยูกริกดั้งเดิม และภาษาซาโมเยดิกดั้งเดิม

กลุ่มชนที่พูดภาษาในตระกูลยูราลิกกลุ่มแรกคือชาวเฟนนีในเจอร์มาเนีย และอีกสองเผ่าในสแกนดิเนเวีย ที่พูดภาษาในกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก ในพุทธศตวรรษที่ 20 นักวิชาการชาวยุโรปได้กล่าวถึงความคล้ายคลึงกันของชื่อฮังกาเรีย และยูเกรียซึ่งเป็นชื่อของแหล่งที่อยู่ทางด้านตะวันออกของเทือกเขายูราล ความเชื่อมโยงเหล่านี้ถูกสันนิษฐานแต่ไม่ได้มาจากหลักฐานทางภาษาศาสตร์ ใน พ.ศ. 2214 นักวิชาการชาวสวีเดน Georg Stiernhielm ได้ศึกษาความคล้ายคลึงของภาษาแลบบ์ ภาษาเอสโทเนีย และภาษาฟินน์ และความคล้ายคลึงของคำระหว่างภาษาฟินน์กับภาษาฮังการี ในขณะที่นักวิชาการเยอรมัน Martin Vogel ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาฟินน์ ภาษาแลบบ์ และภาษาฮังการี กรอบการศึกษาของนักวิชาการทั้งสองคนนี้ได้เป็นกรอบสำหรับการจัดจำแนกกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก ใน พ.ศ. 2260 นักวิชาการชาวสวีเดน Olof Rudbeck ได้เสนอความเชื่อมโยงระหว่างภาษาฟินน์กับภาษาฮังการี และนักวิชาการชาวเยอรมัน Johann Georg von Eckhart ได้เสนอความสัมพันธ์ภายในกลุ่มภาษาซาโมเยดิกเป็นครั้งแรก

ต่อมา ใน พ.ศ. 2313 คำว่ากลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกเป็นที่รู้จัก แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางโดยที่นักวิชาการชาวฮังการีสนใจทฤษฎีนี้และพยายามหาความเชื่อมโยงกับชาวเติร์กและความสัมพันธ์ระหว่างภาษาฮังการีกับภาษาแลบบ์ ต่อมา ใน พ.ศ. 2342 นักวิชาการชาวฮังการี S?muel Gyarmathi ได้เสนองานที่สมบูรณ์เกี่ยวกับกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก การศึกษาเกี่ยวกับภาษาในกลุ่มนี้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา มีการศึกษาในประเทศฮังการีเป็นหลัก

ภาษาในกลุ่มนี้ทั้งหมดมีลักษณะร่วมกันทางด้านคำศัพท์พื้นฐานที่คาดว่ามีจุดกำเนิดจากภาษาฟินโน-ยูกริกดั้งเดิม ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และร่างกาย การตกปลา การล่าสัตว์ การกินเนื้อสัตว์ พืชที่เป็นอาหาร เป็นต้น ภาษาในกลุ่มนี้เป็นรูปคำติดต่อ มีลักษณะของการผันคำโดยเติมปัจจัย ไม่มีการกำหนดเพศทางไวยากรณ์ เช่น ไม่แยกสรรพนามบุรุษที่สามระหว่าง he กับ she แบ่งเป็น 7 การก ใช้สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของน้อย และพัฒนาขึ้นภายหลัง

ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกและกลุ่มภาษายูกริกยังมีการศึกษาน้อย และเชื่อว่าเป็นกลุ่มที่มีความห่างไกลกันมาก และมีนักวิชาการบางกลุ่มพยายามเพิ่มภาษาอื่นๆเข้ามาเพื่อให้จัดเป็นกลุ่มใหญ่ขึ้น


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187