ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กลุ่มภาษาโตคาเรียน

กลุ่มภาษาโตคาเรียน หรือ ภาษาโตชาเรียน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แบ่งเป็นภาษาย่อยได้สองภาษาคือ ภาษาโตคาเรียนตะวันออกและโตคาเรียนตะวันตก ใช้พูดในพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 ก่อนจะกลายเป็นภาษาตาย ผู้พูดภาษานี้หันไปพูดภาษาอุยกูร์ ทั้งสองภาษาใช้พูดในบริเวณแอ่งตาริมในเอเชียกลาง ปัจจุบันอยู่ในมณฑลซินเจียง ประเทศจีน ชื่อของภาษานี้มาจาก โตคาเรียน นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก ชื่อของภาษานี้ในภาษาโตคาเรียนคือ arish- k?na

ภาษาโตคาเรียน เอหรือโตคาเรียนตะวันออก นั้น เคยพูดกันในแถบเตอร์ฟาน ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ส่วนภาษาโตคาเรียน บีหรือโตคาเรียนตะวันตก นั้น เคยพูดกันส่วนใหญ่ในแถบคูชา ทางตะวันตก แต่ก็มีพูดกันในเตอร์ฟานด้วย ภาษาโตคาเรียนนั้นเขียนด้วยอักษรที่ดัดแปลงจากอักษรอินเดียฝ่ายเหนือ เรียกว่าอักษรพราหมี ซึ่งเป็นอักษรที่เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตในภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน

แม้ว่าภาษาโตคาเรียนจะเป็นภาษาที่เก่าแก่ แต่นักวิชาการเพิ่งรู้จักและได้วิเคราะห์ไวยากรณ์ รวมทั้งแปลภาษาโตคาเรียนได้เป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1908 นี้เอง โดยนักวิชาการชาวเยอรมัน ชื่อ เอมิล ซีก (Emil Sieg) และวิลเฮล์ม ซีกลิง (Wilhelm Siegling) ทั้งนี้ได้มีการเสนอชื่อเรียกภาษาตามสำเนียงเยอรมันว่า โตคาริช (Tocharisch)

ภาษาโตคาเรียนเป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับสาขาย่อยอินโด-อารยัน หรืออินโด-อิเรเนียน ทั้งๆ ที่อยู่ในพื้นที่ทางตะวันออก หากพิจารณาตามหลักสัทศาสตร์แล้ว ภาษาโตคาเรียนอยู่ในกลุ่มเคนตุม (Centum) อันเป็นเกณฑ์คร่าวๆ ในการจำแนกกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ทั้งๆ ที่กลุ่มภาษาเคมตุมนั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ในทวีปยุโรป จึงจัดว่าภาษาโตคาเรียนเป็นกลุ่มภาษาเคมตุม ที่รายล้อมด้วยกลุ่มภาษาซาเตม (Satem) ในทวีปเอเชีย และมีคุณลักษณะบางประการที่คล้ายคลึงกับภาษาฮิตไตต์ที่เคยพูดกันเมื่อราว 1,100 ปีก่อนคริสตกาล


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187