ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กองกําลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: ????? K?k? Jieitai ?, อังกฤษ: Japan Air Self-Defense Force : JASDF) เป็นสาขาหนึ่ง ของ กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันน่านฟ้าของญี่ปุ่นและการดำเนินงานการบินอื่น ๆ JASDF ดำเนินการลาดตระเวนทางอากาศทั่วญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน ก็มีเครือข่ายกับที่เชื่อมกับหน่วยงานภาคพื้นดิน รวมกึงระบบเรดาร์เตือนภัยล่วงหน้าทางอากาศ

ช่วงระยะเวลาภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และก่อนการจัดตั้ง กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น ญี่ปุ่นไม่มีกองกำลังทางอากาศที่แยกส่วนออกมา การดำเนินการการบินได้ดำเนินการโดย ฝ่ายอากาศบริการของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นและจักรพรรดินาวีญี่ปุ่น ต่อมาภายหลัง กองทัพของญี่ปุ่นทั้งหมดถูกยุบ กลายเป็น กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น ภายใต้กฎหมายกองกำลังป้องกันตนเอง ค.ศ. 1954 ในสาขาการบิน

ญี่ปุ่นมีโครงการ F-X หรือโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่ทดแทน F-4EJ ซึ่งมีผู้เข้าแข่งขันคือ Eurofighter, Rafale, F/A-18E/F, F-15, F-35 และ F-22 ทั้งนี้ ญี่ปุ่นค่อนข้างแสดงเจตจำนงที่จะจัดหา F-22 เพื่อเพิ่มศักยภาพของกำลังรบให้ทัดเทียมจีน รัสเซีย และป้องกันภัยคุกคามจากขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ และสหรัฐยังมีความกังวลอยู่มากเกี่ยวกับเทคโนโลยีใน F-22 ที่จะส่งออกให้ญี่ปุ่น ซึ่งทำให้การจัดหา F-22 ยังมีความไม่แน่นอนอยู่

และในขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็เริ่มการศึกษาถึงความเป็นไปได้ของการพัฒนาเครื่องบิน Stealth ด้วยตนเองครับ เพราะความต้องการหลักของโครงการ F-X คือเครื่องบินรบที่มีคุณสมบัติตรวจจับได้ยาก (Stealth) และสามารถทำลายขีปนาวุธข้ามทวีปได้

โมเดลในภาพยังเป็นเพียงโมเดลที่ใช้ศึกษาความเป็นไปได้ของเทคโนโลยี Stealth เท่านั้น โครงการพัฒนายังไม่ได้เริ่มอย่างเป็นทางการและยังไม่มีการสร้างเครื่องบินต้นแบบออกมา ซึ่งกองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นจะต้องตัดสินใจระหว่างการจัดซื้อเครื่องบินที่มีเทคโนโลยี Stealth โดยตรงหรือพัฒนาเครื่องบินที่มีเทคโนโลยี Stealth ด้วยตนเอง และถ้าตัดสินใจที่จะพัฒนาเอง จะต้องร้องของบประมาณไปที่รัฐสภาญี่ปุ่น ซึ่งน่าจะได้รับการอนุมัติงบประมาณในปีงบประมาณ 2551-52 ครับ และในการพัฒนาเองนั้น ไม่ว่าอย่างไร กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นก็แสดงความตั้งใจที่จะให้ Lockheed Martin หรือ Boeing เข้ามาร่วมพัฒนาเครื่องบินในโครงการนี้เพราะเป็นเพียงสองบริษัทที่มีเทคโนโลยี Stealth ที่สมบูรณ์อยู่ในมือ

ซึ่งถ้าญี่ปุ่นสามารถพัฒนาเครื่องบินได้ด้วยตนเองจนสามารถเข้าประจำการได้ ก็จะเป็นเครื่องบินลำแรกในรอบ 30 ปีที่ญี่ปุ่นพัฒนาเอง (เพราะ F-2 ของญี่ปุ่นได้แบบแผนมาจาก F-16 ของสหรัฐ)

ทั้งนี้ ญี่ปุ่นจะส่งคำร้องขอข้อเสนอ (Request for Proposal:RFP) ภายในสิ้นปีนี้หรือต้นปีหน้า และคาดว่าจะสามรถเลือกแบบเครื่องบินได้ภายในปี 2551 หรืออย่างช้าในปี 2552 และเครื่องบินลำแรกจะต้องเข้าประจำการภายในปี 2553-2554 ซึ่งทำให้ F-35 ไม่น่าจะสามารถส่งมอบได้ทันเนื่องจากโครงการประสบปัญหาด้านเทคนิคและความล่าช้ามาก ส่วน F-22 ก็อาจจะต้องใช้เวลาที่นานกว่านั้นในการพิจารณาถึงเทคโนโลยีที่จะสามารถส่งออกให้ญี่ปุ่น รวมถึงการติดตั้งระบบป้องกันความลับของข้อมูลในตัวเครื่องบินซึ่งอาจจะต้องใช้เงินอีกราว 1 พันล้านเหรียญด้วย

และล่าสุดญี่ปุ่นได้ตัดF-22ออกจากการแข่งขันโครงการจัดหาเครื่องบินทดแทนแล้วเนื่องจากอเมริกาไม่มีนโยบายส่งออกและสายการผลิตใกล้จะปิดดังนั้นเครื่องบินที่น่าจะเป็นไปได้คือF-35


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187