ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การถ่ายภาพเคอร์เลียน

การถ่ายภาพเคอร์เลียน (Kirlian photography) คือ ชุดของเทคนิคการถ่ายภาพที่ใช้ในการจับภาพของปรากฏการณ์โคโรนา หรือ การปล่อยประจุแบบโคโรน่าทางไฟฟ้า มันเป็นชื่อนามสกุลคำหลังของนาย เซมยอน เคอร์เลียน (Semyon Kirlian) ซึ่งเป็นผู้ที่ได้ค้นพบวิธีการนี้โดยบังเอิญในปี ค.ศ. 1939 โดยเขาพบว่าถ้าวัตถุที่วางอยู่บนแผ่นเพลตสำหรับถ่ายภาพถูกเชื่อมต่อกับแหล่งกำเนิดแรงดันไฟฟ้าแรงสูง, ภาพของวัตถุจะถูกถ่ายภาพออกมาได้บนแผ่นเพลตสำหรับถ่ายภาพ เป็นเทคนิควิธีการที่รู้จักกันหลากหลายลักษณะต่าง ๆ กันมากมายที่มีชื่อเรียกกัน เช่น "ภาพถ่ายทางไฟฟ้า" (electrography), "เทคนิคการถ่ายภาพด้วยไฟฟ้า" (electrophotography), "เทคนิคการถ่ายภาพการปล่อยประจุแบบโคโรน่า" (corona discharge photography) (CDP), "การถ่ายภาพทางไฟฟ้าชีวะ" (bioelectrography), "การสร้างภาพการปล่อยประจุก๊าซ" (gas discharge visualization) (GDV), "การสร้างภาพทางไฟฟ้าเชิงแสง" (electrophotonic imaging) (EPI), และ, ในวรรณกรรมรัสเซีย, "ภาพถ่ายเคอร์เลียน" เป็นต้น

การถ่ายภาพเคอร์เลียน ได้รับการคัดเลือกให้เป็นประเด็นหัวข้อเรื่องของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์กระแสหลัก, การวิจัยทางด้านปรจิตวิทยา (parapsychology) (ตามความรู้สึกของคนไทยเรา มันมักจะหมายถึงเรื่อง "พลังจิต") และทางด้านศิลปะ

การถ่ายภาพเคอร์เลียนเป็นเทคนิคการสร้างภาพถ่ายของวัตถุโดยใช้ไฟฟ้าแรงสูงส่งผ่านแผ่นฟิล์มที่อยู่เหนือแผ่นเหล็กสำหรับการคายประจุและอยู่ติดกับวัตถุที่ถูกถ่ายภาพ กระแสไฟฟ้าแรงสูงจะถูกจ่ายเป็นระยะเวลาสั้นๆไปยังแผ่นเหล็ก ทำให้เกิดภาพที่เกิดจากการปรากฏการณ์โคโรนาระหว่างวัตถุกับแผ่นเหล็กถูกถ่ายทอดลงฟิล์มที่อยู่ระหว่างกลางกลายเป็นภาพถ่ายเคอร์เลียน

โดยปกติ ฟิล์มถ่ายภาพสีจะถูกปรับไว้ให้ได้ภาพที่สมจริงในสภาวะแสงปกติ ปรากฏการณ์โคโรนาจะมีปฏิสัมพันธ์ชั่วขณะกับแต่ละชั้นแผ่นแม่สีของฟิล์มที่แตกต่างกันไป อันจะทำให้สีที่ได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการคายประจุ ทั้งฟิล์มและเทคนิคการถ่ายภาพแบบดิจิตอลล้วนบันทึกภาพจากโฟตอนที่ถูกปล่อยออกมาจากปรากฏการณ์โคโรนา(โปรดดู กลศาสตร์ของปรากฏการณ์โคโร).

ภาพถ่ายจากสิ่งไม่มีชีวิตเช่นเหรียญ กุญแจ หรือใบไม้ สามารถสร้างภาพอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยต่อทางไฟฟ้ากับสายดินลงพื้นดิน ในท่อน้ำเย็นหรือขั้วตรงข้ามของแหล่งไฟฟ้าแรงสูงที่จ่ายให้วัตถุ อันจะทำให้ปรากฏการณ์โคโรนารุนแรงยิ่งขึ้น

การถ่ายภาพเคอร์เลียนไม่จำเป็นต้องใช้กล้องหรือเลนส์เพราะแผ่นรับภาพสัมผัสกับวัตถุโดยตรง จึงสามารถใช้แผ่นตัวนำโปร่งแสงวางคั่นกลางระหว่างวัตถุกับแผ่นเหล็กเพื่อให้สามารถบันทึกภาพด้วยกล้องถ่ายรูปหรือกล้องวิดิโอได้

นักศิลปะการถ่ายภาพเช่น Robert Buelteman, Ted Hiebert, และ Dick Lane เคยถ่ายภาพเคอร์เลียนเพื่อสร้างภาพถ่ายทางศิลปะของวัตถุหลากหลายชนิด นักถ่ายภาพเคอร์เลียน Mark D. Roberts ผู้ทำงานกับภาพถ่ายเคอร์เลียนมานานกว่า 40 ปี ได้เผยแพร่ชุดผลงานของภาพถ่ายพืชโดยใช้ชื่อว่า "Vita occulta plantarum" หรือ "ความลับแห่งชีวิตของพืช" ซึ่งจัดแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2012 ที่พิพิธภัณฑ์แบ็คเค็นในมินเนทาโพลิส

การถ่ายภาพเคอร์เลียน ได้ถูกจัดให้เป็นหัวใจหลักในเรื่องของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์, การวิจัยทางด้านจิตศาสตร์ซึ่งมีสาขาเฉพาะทางที่เรียกว่าวิชา "ปรจิตวิทยา" ซึ่งพวกเราคนไทยรู้จักกันดีในชื่อว่า "พลังจิต" (parapsychology research) และการกล่าวอ้างเกี่ยวกับเรื่องราวของ วิทยาศาสตร์เทียม (pseudoscientific) ส่วนใหญ่ของการวิจัยทางด้านนี้ ได้ถูกริเริ่มดำเนินการขึ้นเมื่อราวประมาณกลางศตวรรษที่ 20 ที่เกิดขึ้นในยุคสมัยอดีตของโลกทางฝ่ายกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ก่อนการสิ้นสุดลงของสงครามเย็น (cold war) และยังไม่ได้ถูกยกระดับขึ้นเพื่อการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ที่เข้มงวดของโลกฝ่ายตะวันตก[ต้องการอ้างอิง]

จากผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ตีพิมพ์เมื่อปี 1976 ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพเคอร์เลียนของเนื้อเยื่อที่ยังมีชีวิต (จากปลายนิ้วของมนุษย์) พบว่าส่วนใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงในความยาวของลำแสงของการปล่อยแบบโคโรนา, ความหนาแน่น, ความโค้งงอ และ สี สามารถถูกพิจารณาได้โดยสภาพความชื้นบนพื้นผิวและภายในของเนื้อเยื่อที่ยังมีชีวิตอยู่เหล่านั้น


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187