ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ข้อตกลงมิวนิก

ข้อตกลงมิวนิก (อังกฤษ: Munich Agreement; เช็ก: Mnichovsk? dohoda; สโลวัก: Mn?chovsk? dohoda; เยอรมัน: M?nchner Abkommen; ฝรั่งเศส: Accords de Munich) เป็นการประชุมระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อตกลงเกี่ยวกับแคว้นซูเดเทนแลนด์และดินแดนเชโกสโลวาเกีย จัดขึ้นในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1938 ที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี

โดยประเทศมหาอำนาจได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย นายเนวิลล์ เชมเบอร์แลน จากสหราชอาณาจักร อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จากนาซีเยอรมนี เบนิโต มุสโสลินี จากอิตาลี และดาลาดิเยร์ แห่งฝรั่งเศส โดยมีเป้าหมายเพื่อประชุมกันถึงอนาคตของเชโกสโลวาเกียกับความต้องการดินแดนเพิ่มเติมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผลจากสนธิสัญญาดังกล่าว ซึ่งลงนามโดยเยอรมนี อิตาลี สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสได้อนุญาตให้เยอรมนียึดครองดินแดนซูเดเตนแลนด์ โดยดินแดนซูเดเตนแลนด์มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างมากต่อเชโกสโลวาเกีย และการป้องกันชายแดนส่วนใหญ่ของประเทศก็ตั้งอยู่ที่นั่น

หลังจากที่เยอรมันละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายโดยส่งทหารเข้าสู่พื้นที่ไรน์แลนด์ได้สำเร็จโดยไม่มีผู้ใดขัดขวาง ฮิตเลอร์จึงดำเนินการขั้นต่อไปโดยที่จะทำให้เยอรมันเป็นมหาอาณาจักร และใน ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์สามารถรวมออสเตรียเข้ากับเยอรมันได้สำเร็จ ซึ่งเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย หลังจากนั้นฮิตเลอร์คิดจะรวมแคว้นสุเดเทน (Sudeten) ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของเชโกสโลวาเกีย โดยโฆษณาชวนเชื่อให้เกิดความรู้สึกชาตินิยม ชาวเยอรมันในแคว้นสุเดเทนจึงลุกขึ้นพยายามเรียกร้องเอกราช คิดที่จะรวมเข้าอยู่กับเยอรมัน โดยมีคอนราด เฮนไลน์ (Konrad Henlein) เป็นผู้นำ ฮิตเลอร์ได้ประกาศพร้อมช่วยเหลือแคว้นสุเดเทน รัฐบาลเชโกสโลวาเกียไม่ยอมทำตามข้อเรียกร้อง เพราะจะเป็นตัวอย่างแก่ชนกลุ่มน้อยอื่นๆ

อังกฤษได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ครั้งนี้ โดยยึดนโยบายเดิมคือ การตกลงโดยสันติวิธี หลีกเลี่ยงการทำสงครามโดยอังกฤษได้ข้อร้องให้เชกโกสโลวาเกียตกลงตามข้อเรียกร้องของคอนราด เฮนไลน์ แต่เยอรมันก็ขู่ที่จะใช้กำลังทหารบังคับ

อังกฤษเห็นว่าการรวมชาวเยอรมันเข้าอยู่ร่วมกันเป็นเรื่องที่ชอบด้วยเหตุผลพอสมควร เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงสงครามในยุโรปที่เกิดขึ้นได้ทุกขณะ เชมเบอร์เลนจึงเดินทางไปเจรจากับฮิตเลอร์ด้วยตนเอง ภายในระยะเวลาเพียง 2 สัปดาห์ ถึง 3 ครั้งด้วยกัน กล่าวคือ เจรจาครั้งแรกที่แบร์คเตสกาเดน (Berchtesgarden) ในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1938 เชมเบอร์เลนตกลงยอมให้เยอรมันรวมสุเดเทนเข้าไปอยู่ด้วย

แต่อีกสัปดาห์ต่อมาคือในวันที่ 22 กันยายน เชมเบอร์เลนก็ต้องเดินทางไปพบฮิตเลอร์อีกครั้งหนึ่งที่ กอเดสเบอร์ก (Godesberg) เมื่อฮิตเลอร์ยืนยันที่จะใช้ทหารเยอรมันเข้าไปยึดครองสุเดเทนทันที พร้อมกับขู่กว่าจะประกาศสงครามกับอังกฤษ ฝรั่งเศส และเชโกสโลวาเกีย หากไม่ยอมปล่อยให้ตนดำเนินการตามแผนนี้ เชมเบอร์เลนจึงขอให้ระงับการใช้กำลังทางทหาร แต่บรรยากาศยังอึมครึมตึงเครียดมีท่าทีว่าจะเกิดสงครามขึ้นได้ ประกอบกับเชกโกสโลวาเกียได้ระดมพลประชิดชายแดน ฝรั่งเศสมีคำสั่งให้ทหารกองหนุนเข้ารายงานตัว อังกฤษเองก็สั่งเตรียมพร้อมกองทัพเรือ ทันใดนั้นเองฮิตเลอร์จึงยอมเปลี่ยนท่าทีและยอมตกลงเข้าประชุมนานาชาติซึ่งเชมเบอร์เลนได้เสนอไว้ ซึ่งก็คือการประชุมที่มิวนิก


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187