ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ทรูวิชั่นส์

ทรูวิชันส์ หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[ต้องการอ้างอิง] บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชันส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชันส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ

ยูบีซี เกิดจากการรวมกิจการ ของผู้ให้บริการเคเบิลทีวี 2 รายใหญ่ในประเทศไทย คือไอบีซี และยูทีวี

เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ทำให้ไอบีซีและยูทีวีต้องหาทางอยู่รอด โดยควบรวมกิจการเพื่อลดค่าใช้จ่าย โดยสามารถใช้ทรัพยากร ของบริษัทในเครือได้อย่างเต็มที่ คือทั้งระบบสัญญาณผ่านดาวเทียมไทยคม และบริการเอ็มเอ็มดีเอสผ่านระบบไมโครเวฟ ของกลุ่มชินวัตร (แต่ภายหลังออกอากาศด้วยระบบดังกล่าวเพียง 2 ช่องคือ นิวส์ 24 และช็อปปิงแอตโฮม ซึ่งสามารถรับชมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ) และระบบเคเบิลใยแก้วนำแสง กับโคแอกเชียล ของกลุ่มเทเลคอมเอเชีย

โดยในราวเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ไอบีซีเป็นฝ่ายซื้อกิจการยูทีวี โดยวิธีการแลกหุ้น และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติง คอร์ปอเรชัน จำกัด (ยูบีซี) และออกอากาศด้วยชื่อยูบีซี อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันพุธที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 โดยในยุคแรก ออกอากาศผ่านดาวเทียมไทยคม 1 (แต่ปัจจุบันใช้ดาวเทียมไทยคม 5) แต่หลังจากนั้นไม่นาน กลุ่มชินวัตรก็ขายหุ้นยูบีซีทั้งหมด ให้กับเครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทแม่ของเทเลคอมเอเชีย ขณะเดียวกันก็ดำเนินการจดทะเบียน เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ชื่อย่อว่า UBC

จากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2549 กลุ่มเอ็มไอเอช ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ขายหุ้นทั้งหมดให้กับกลุ่มทรู คอร์ปอเรชัน รวมเป็นหุ้นร้อยละ 98 ทำให้กลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จึงยุติการซื้อขายหลักทรัพย์ของยูบีซี โดยกลุ่มทรูฯ ประกาศซื้อหุ้นยูบีซี จากผู้ถือหุ้นรายย่อย เมื่อวันที่ 9 มกราคม แล้วจึงเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ยูบีซี-ทรู จำกัด (มหาชน) รวมถึงเครื่องหมายการค้าใหม่คือ ยูบีซี-ทรู ต่อมาในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2550 ยูบีซีเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทเป็น บริษัท ทรูวิชันส์-ยูบีซี จำกัด (มหาชน) รวมถึงเครื่องหมายการค้าใหม่คือ ทรูวิชันส์-ยูบีซี ต่อมาลดลงเหลือเพียง บริษัท ทรูวิชันส์ จำกัด (มหาชน) ทรูวิชันส์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบัน ตามยุทธศาสตร์หลอมรวม (Convergence) ธุรกิจในกลุ่มทรูฯ

เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2552 สุรพล นิติไกรพจน์ ประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ในขณะนั้น ร่วมลงนามในสัญญา อนุญาตให้ทรูวิชันส์ สามารถมีโฆษณาได้ ชั่วโมงละ 6 นาที เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ที่อนุญาตให้กิจการโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิก สามารถทำการโฆษณาได้ โดยตกลงจ่ายเงินชดเชยค่าเสียหาย กรณีที่กลุ่มทรูวิชันส์ ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และค่าปรับอื่น ๆ รวมเป็นเงินกว่า 110 ล้านบาท และตกลงที่จะแบ่งรายได้ค่าโฆษณาให้ อสมท ร้อยละ 6.5 จากรายได้ค่าโฆษณาทั้งหมด

ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ทรูวิชันส์ไม่สามารถแก้ไขปัญหาลิขสิทธิ์ หรือการแอบลักลอบรับชมรายการของทรูวิชันส์ผ่านกล่องรับสัญญาณดาวเทียมที่ไม่ได้มาจากทรูวิชันส์ (เช่น กล่องดรีมบ็อกซ์) ที่เป็นปัญหาเรื้อรังมาตั้งแต่ตอนที่ยังเป็น ยูบีซีได้ จนกระทั่งในที่สุด ทรูวิชันส์ได้ตัดสินใจเพิ่มมาตรการในการควบคุมระบบการออกอากาศใหม่ทั้งหมด โดยเปลี่ยนระบบการส่งสัญญาณภาพจากเดิมที่เป็น MPEG-2 ผ่านเทคโนโลยีดีวีบี-เอส (DVB-S) มาเป็น MPEG4 ผ่านเทคโนโลยี ดีวีบี-เอส 2 (DVB-S2) แบบเข้ารหัสตรง โดยได้ดำเนินการในคืนวันที่ 15 กรกฎาคม 2555 และมีผลกระทบโดยตรงต่อสมาชิกแพคเกจซิลเวอร์ขึ้นไป ซึ่งในช่วงนั้นทรูวิชันส์ได้ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกตั้งแต่แพคเกจซิลเวอร์ขึ้นไป เข้าดำเนินการขอเปลี่ยนกล่องรับสัญญาณภาพมาเป็นรูปแบบใหม่ นั่นก็คือ TrueVisions HD Plus เพื่อสามารถรับชมช่องรายการได้ครบตามปกติโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจากเดิมที่ต้องเสียค่าเปลี่ยนอุปกรณ์ 1,000 บาท

ประมาณ 23:25 น.ของวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งสายเคเบิลใยแก้ว ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างสถานีดาวเทียมไทยคม กับสถานีโทรทัศน์บอกรับเป็นสมาชิกทรูวิชันส์ (Fiber link) เกิดเหตุขัดข้องทางเทคนิคบางส่วน จนส่งผลให้บางช่องรายการของทรูวิชันส์ ไม่สามารถส่งสัญญาณออกอากาศได้ในขณะนั้น ซึ่งเจ้าหน้าที่ของบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน

เพื่อให้เป็นไปตามประกาศ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช.


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187