ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

นครรัฐอิสระลือเบ็ค

นครรัฐอิสระลือเบค หรือ นครอิสระและนครฮันเซียติคแห่งลือเบค (เยอรมัน: Freie und Hansestadt L?beck, อังกฤษ: Free City of L?beck หรือ Free and Hanseatic City of L?beck) เป็นนครรัฐที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1226 ถึงปี ค.ศ. 1937 ที่ตั้งอยู่ในรัฐชเลสวิก-โฮลชไตน์และเมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์นในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน

ในปี ค.ศ. 1226 สมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มีพระราชประกาศให้ลือเบค มีฐานะเป็นราชนครรัฐอิสระ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ลือเบคก็กลายเป็นเมือง "ราชินีแห่งสันนิบาตฮันเซียติก" เพราะความที่เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดในบรรดารัฐสมาชิกในกลุ่มการค้าของยุคกลาง

ระหว่างนั้นก็มีการต่อสู้ช่วงชิงสิทธิทางการค้าระหว่างลือเบคและสันนิบาตฮันเซียติกในการต่อต้านเดนมาร์คที่มีผลได้บ้างเสียบ้าง แต่ลือเบคและสันนิบาตฮันเซียติกก็ดำรงตัวอยู่ได้ระหว่างปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ระหว่างปี ค.ศ. 1435 ถึงปี ค.ศ. 1512 ลือเบคมาเสียทีเมื่อเข้าไปเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งระหว่างเคานท์ (Count's Feud) ซึ่งเป็นสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในเดนมาร์กระหว่างปี ค.ศ. 1534 ถึงปี ค.ศ. 1536 นอกจากนั้นก็ยังเข้าร่วมในสันนิบาตชมัลคัลดิก (Schmalkaldic League) หลังจากพ่ายแพ้ในความขัดแย้งแล้วอำนาจของลือเบคก็ค่อยๆ เสื่อมโทรมลง แต่ระหว่างสงครามสามสิบปีลือเบคสามารถดำรงความเป็นกลางไว้ได้ ความเสียหายอย่างหนักหลังจากการสงครามอันยืดเยื้อ และ เส้นทางการค้าใหม่ของยุโรปที่หันไปใช้การข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกทำให้สันนิบาตฮันเซียติกและลือเบคหมดความสำคัญลง เมื่อสหพันธ์มายุบตัวลงในปี ค.ศ. 1669 ลือเบคก็ยังคงมีความสำคัญทางการค้าในบริเวณทะเลบอลติค

ลือเบคยังคงมีฐานะเป็นราชนครรัฐอิสระแม้ว่าจะเกิดการปฏิรูปดินแดนในเยอรมนีในปี ค.ศ. 1803 หลังจากนั้นก็กลายเป็นรัฐอิสระเมื่อจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์สลายตัวในปี ค.ศ. 1806 ระหว่างสงครามพันธมิตรที่สี่ (War of the Fourth Coalition) ในการต่อต้านจักรพรรดินโปเลียน กองทัพภายใต้แบร์นาด็อตต์ (Charles XIV John of Sweden) เข้ายึดครองลือเบคที่มีฐานะเป็นกลางหลังจากการต่อสู้กับ เก็บฮาร์ด เลเบอเร็คท์ ฟอน บลืเชอร์ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1806 การดำเนินนโยบายระบบแผ่นดินใหญ่ (Continental System) ซึ่งเป็นนโยบายต่างประเทศของนโปเลียนในการต่อต้านอังกฤษทางการค้าระหว่าง ค.ศ. 1811 ถึง ค.ศ. 1813 สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจแก่ลือเบคเป็นอันมาก และลือเบคก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1

การประชุมแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 หลังจากการพ่ายแพ้ของนโปเลียน ทำให้ลือเบคและรัฐต่างๆ อีก 39 กลายเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐเยอรมัน ต่อมาในปี ค.ศ. 1867 ลือเบคก็เป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐเยอรมัน และกลายมาเป็นรัฐอิสระของจักรวรรดิเยอรมนีที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1871

ในปี ค.ศ. 1937 รัฐบาลนาซีก็อนุมัติรัฐบัญญัติที่เรียกว่ารัฐบัญญัติฮัมบูร์กและปริมณฑล (เยอรมัน: Gesetz ?ber Gro?-Hamburg und andere Gebietsbereinigungen) ที่มีผลให้เมืองฮัมบูร์กขยายออกไปรวมเมืองต่างๆ ที่เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดชเลสวิก-โฮลชไตน์ของปรัสเซีย เพื่อเป็นการตอบแทนการสูญเสียดินแดนของปรัสเซีย อิสรภาพของลือเบคที่มีมาเป็นเวลา 711 ปี ก็มาสิ้นสุดลงเมื่อกลายไปเป็นส่วนหนึ่งของชเลสวิก-โฮลชไตน์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187