ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ปลาแฟนซีคาร์ป

ปลาแฟนซีคาร์ป (อังกฤษ: Fancy carp, Mirror carp; ญี่ปุ่น: ?, ??; โรมะจิ: Koi, Nishikigoi-ปลาไน, ปลาไนหลากสี) เป็นปลาคาร์ปหรือปลาไน ชนิดย่อย Cyprinus carpio haematopterus

เป็นปลาคาร์ปที่ถูกพัฒนาสายพันธุ์ขึ้นมาจากปลาคาร์ปธรรมดา ๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติหรือที่นำมารับประทานกันเป็นอาหาร เพื่อการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเริ่มต้นขึ้นในราว ค.ศ. 200-ค.ศ. 300 โดยปลาคาร์ปต้นสายพันธุ์นั้นมีเพียง 3 สีเท่านั้น คือ แดง, ขาว และน้ำเงิน มีบันทึกว่าปลาคาร์ปบางตัวได้พัฒนาตัวเองมาเป็นสีส้ม ดังนั้นชาวจีนจึงนิยมนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นความเป็นสิริมงคล

จากนั้นจึงได้เดินทางเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น บริเวณหมู่บ้านเชิงเขาที่ชื่อ ตาเกซาว่า, ฮิกาชิยามาโอตะ, ตาเนอุฮาร่า และกามากาชิมา โดยชาวบ้านที่หมู่บ้านเหล่านี้ได้นำปลาคาร์ปมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารในยามฤดูหนาวหรือช่วงที่อาหารขาดแคลน จากนั้นในศตวรรษที่ 18 ที่เมืองเอจิโกะ ในจังหวัดนีงะตะ ได้บังเอิญเกิดมีปลาคาร์ปตัวหนึ่งซึ่งเป็นสีขาวและสีแดงตลอดทั้งตัวเกิดขึ้นมา สันนิษฐานว่าเป็นการผ่าเหล่า เกิดจากการผสมพันธุ์กันเองภายในสายเลือดใกล้ชิดกัน ซึ่งนำไปสู่การเพาะพันธุ์จนมาได้ ปลาที่มีลักษณะสีขาวสลับแดงในสายพันธุ์ที่มีชื่อว่า "โคฮากุ" (??) ขึ้นมาจนถึงในปัจจุบัน

จากนั้นความนิยมในการเลี้ยงปลาคาร์ปในประเทญี่ปุ่นก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1870 มีศูนย์กลางการเพาะเลี้ยงปลาขึ้นบริเวณเชิงเขาเมืองโอจิยะ จังหวัดนิอิกาตะ และฮิโรชิม่า มีการทำฟาร์ม ประกวด และพัฒนาสายพันธุ์จนกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมญี่ปุ่น ในเทศกาลเด็กผู้ชาย ซึ่งตรงกับวันที่ 5 พฤษภาคม ของทุกปี ซึ่งครอบครัวชาวญี่ปุ่นที่มีบุตรชายจะนำธงทิวที่มีสีสันหลากหลายรูปปลาคาร์ป ขึ้นแขวนไว้หน้าบ้าน เพื่อเป็นการแสดงสัญลักษณ์ให้เด็กเติบโตมาอย่างสมบูรณ์แข็งแรง ประดุจปลาคาร์ปที่ว่ายทวนกระแสน้ำเชี่ยว

ในปี ค.ศ. 1914 ได้มีผู้นำปลาคาร์ปขึ้นทูลเกล้าฯ มงกุฎราชกุมารโชวะ ซึ่งนับเป็นจุดที่ทำให้ความนิยมในการเลี้ยงปลาคาร์ปเผยแพร่กว้างไกลยิ่งขึ้น ต่อมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดภาวะขาดแคลนอาหารภายในประเทศญี่ปุ่น ปลาคาร์ปจึงถูกใช้ทำเป็นอาหารอีกครั้ง เมื่อสงครามยุติลง ยังมีผู้ที่เลี้ยงปลาที่ได้รักษาสายพันธุ์ไว้ พยายามฟื้นฟูและสงวนสายพันธุ์ขึ้นมา ปลาคาร์ปจึงได้กลับมาอีกครั้งในฐานะปลาสวยงามในวัฒนธรรมญี่ปุ่น จนมาถึงอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

แหล่งผลิตปลาคาร์ปสวยงามของญี่ปุ่นในปัจจุบัน ได้แก่ โอจิยะ, ฮามามัตสึ, ยามาโคชิ, นากาโอะ, โตชิโอะ และคิตะอุโอนุมา ซึ่งประชากรในเมืองเหล่านี้ส่วนมากจะประกอบเพาะพันธุ์ปลาคาร์ปจำหน่าย โดยอาศัยแหล่งน้ำธรรมชาติ ตลอดจนภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เอื้ออำนวยที่อยู่บนเขาซึ่งเหมาะแก่การเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์เป็นอย่างยิ่ง การเลี้ยงปลาคาร์ปในประเทศญี่ปุ่นจึงเป็นที่นิยมอย่างรวดเร็ว ทุกปีจะมีการประกวดทั่วทั้งประเทศ ที่กรุงโตเกียว อันเป็นเมืองหลวง นอกจากนี้แล้วยังมีการประกวดในระดับภูมิภาคแยกย่อยอีก รวมถึงในระดับนานาชาติอีกด้วย

ในปี ค.ศ. 1966 สมาคมผู้เลี้ยงปลาคาร์ปแห่งญี่ปุ่น ได้ร่วมกันสร้างอนุสาวรีย์ปลาคาร์ปขึ้น โดยสลักคำว่า "แหล่งกำเนิดนิชิกอย" (??????) ขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ขึ้นที่หน้าโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง ในเมืองนิกาตะ เพื่อเป็นการระลึกถึงเมืองที่เป็นจุดกำเนิดปลาแฟนซีคาร์ป

สำหรับประวัติการเลี้ยงปลาแฟนซีคาร์ปในประเทศไทย ในรูปแบบปลาสวยงามนั้น เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2493 โดยนำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งในเวลานั้นถือเป็นปลาสวยงามที่มีราคาสูงมาก ในปี พ.ศ. 2498 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ทรงนำเข้าปลาชนิดนี้มาจากประเทศญี่ปุ่น เพื่อเลี้ยงเป็นปลาพ่อแม่พันธุ์ และให้ชื่อเป็นภาษาไทยว่า "ปลาอัมรินทร์" ในขณะที่กรมประมงได้เรียกว่า "ปลาไนญี่ปุ่น" หรือ "ปลาไนสี" หรือ "ปลาไนแฟนซี" จากนั้นก็ได้มีผู้นำเข้ามาเลี้ยงกันมาอีกอย่างแพร่หลาย จนถึงในปัจจุบัน

นอกจากนี้แล้ว การเลี้ยงปลาแฟนซีคาร์ปยังเชื่อกันว่าจะช่วยเสริมโชคลาภให้แก่ผู้เลี้ยงเช่นเดียวกับปลาทองหรือปลาอะโรวาน่าอีกด้วย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519