ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

พอร์ตอาร์เทอร์

พอร์ตอาร์เทอร์ (อังกฤษ: Port Arthur) เป็นเมืองขนาดเล็ก อดีตเคยเป็นที่ตั้งของที่กุมขังนักโทษ ในปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวทีสำคัญแห่งหนึ่งของรัฐแทสเมเนีย

ประเทศที่มีอดีตเคยเป็นแดนนักโทษ นั้นคือ ประเทศออสเตรเลีย ปัจจุบันนี้ได้รับการก่อตั้งเป็นประเทศขึ้นมาได้ก็เพราะสงครามปฏิวัติที่อเมริกาเป็นผู้ก่อขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1775 ครั้งหนึ่งในยุคก่อนหน้านั้น บรรดาประเทศต่าง ๆ ที่มีเมืองขึ้นของตนมักจะใช้ดินแดนในเมืองขึ้นดังกล่าวเป็นแดนกักกันหรือเป็นคุกที่คุมขังนักโทษ โดยเฉพาะประเทศอังกฤษมักจะนำผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดตลอดจนนักโทษที่ถูกตัดสิน ได้รับโทษแล้ว ไปกักกันไว้ในดินแดนอันเป็นเมืองขึ้นของตนในอเมริกา แต่หลังจากที่บรรดาดินแดนอเมริกาอันเคยเป็นเมืองขึ้นของ ประเทศอังกฤษ เกิดรบชนะในสงครามกู้อิสรภาพครั้งนั้นแล้ว อังกฤษก็ต้องหาสถานที่กักกันนักโทษของตนแทนดินแดนอเมริกันเหล่านั้นต่อไปใหม่

ด้วยเหตุนี้ กองเรืออังกฤษจึงได้ใช้เรือแล่นลัดตัดตรงไปยังดินแดนออสเตรเลีย โดยได้บรรทุกเอาบรรดานักโทษชายหญิงไปในเรือเหล่านั้นด้วย นักโทษเหล่านั้นต้องถูกส่งออกจากบ้านเกิดเมืองนอนของตน ก็เพราะต้องตกเป็นอาชญากรแผ่นดินในคดีต่าง ๆ บางคนมีหนี้สินแล้วไม่มีปัญญาหาเงินมาใช้หนี้ ก็ต้องเข้าคุกไปโดยไม่มีทางเลี่ยง

แดนกักกันทั้งหลายในยุคแรก ๆ ของการใช้ดินแดนออสเตรเลียเป็นแดนกักกันนักโทษของอังกฤษ ที่สำคัญแห่งหนึ่งคือ ซิดนีย์ อันเป็นนครใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียในปัจจุบัน หลังจากนั้นต่อมาก็มีการจัดส่งนักโทษที่ต้องโทษขนาดหนักแยกย้ายไปสู่ที่ควบคุมพิเศษที่จัดตั้งขึ้นใหม่ เรียกกันว่า "นิคมผู้ต้องโทษคดีอาญา" ซึ่งในยุคนั้นมีนิคมนักโทษที่สำคัญอยู่แห่งหนึ่งบนเกาะเปล่าเปลี่ยว มีแต่โขดหินซึ่งเรียกกันในยุคนั้นว่า นิคมนักโทษที่พอร์ตอาร์เทอร์ ฟังดูคล้าย ๆ จะเป็นท่าเรือสำหรับเกาะแห่งนั้น เขาเรียกกันว่าดินแดนแห่งแวน ไดเมน หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งในปัจจุบันนี้ว่า เกาะแทสเมเนีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย

ชีวิตความเป็นอยู่ในนิคมนักโทษที่พอร์ตอาร์เทอร์มีความทารุณโหดร้ายมาก เรื่องจะคิดหลบหนีนั้นอย่าได้หวังเลยว่าจะมีโอกาส นอกจากจะมี ยามรักษาการณ์และฝูงสุนัขคอยเฝ้าระวังอยู่แทบทุกฝีก้าวแล้ว ในท้องทะเลยังมีปลาฉลามชุกชุมเสียอีกด้วย อาคารที่ควบคุมก็ตั้ง อยู่บนโขดหินสูงชัน ได้ยินแต่เสียงคลื่นซัดอยู่อาดอานทั้งวันทั้งคืน มีนักโทษพยายามหลบหนีมากมายหลายคนแต่ก็มีอยู่เพียงไม่กี่คนเท่านั้น ที่สามารถรอดชีวิตออกมาได้ พอร์ตอาร์เทอร์ถูกใช้เป็นแดนคุมขังนักโทษอยู่โดยตลอดมาเป็นเวลานานถึงห้าสิบปี มีนักโทษอยู่ประมาณ 30,000 คน แต่หลังจากที่ถูกทิ้งร้างว่างเปล่าไม่ใช้เป็นแดนคุมขังได้ประมาณสองปี ตัวนิคมส่วนใหญ่ก็ถูกไฟเผาผลาญเสียเป็นส่วนมาก

ปัจจุบันนี้มีนักท่องเที่ยวพากันเดินทางไปแวะชมพอร์ตอาร์เทอร์มากมาย ท่ามกลางซากปรักหักพังที่ยืนหยัดอยู่ตลอดมาเป็นเวลานาน ประมาณหนึ่งร้อยปี พร้อมทั้งยังมีหอคอยสูง บ้านและโบสถ์อีกอย่างละหนึ่งหลัง นอกจากนี้ก็มีโรงพยาบาลอีกหนึ่งแห่ง สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมา ล้วนแต่เป็นฝีมือการก่อสร้างของบรรดานักโทษทั้งสิ้น ซากปรักหักพังต่าง ๆ ที่นั่น เป็นเสมือนสิ่งเตือนใจให้ระลึกถึงว่าประเทศออสเตรเลียนั้น เริ่มตั้งขึ้นมาได้ก็เพราะถูกใช้เป็นแดนคุมขังนักโทษมาก่อน

วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2539 นาย มาร์ติน บาร์แยนท์ได้ก่อเหตุสะเทือนขวัญ สังหารชีวิตประชาชนในบริเวณพอร์ตอาร์เทอร์อย่างเลือดเย็น มีผู้เสียชีวิตจากการสังหารของเขาถึง 35 ราย และบาดเจ็บอีก 37 ราย ตัวเขาถูกจับได้ในวันถัดมาและถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิต และจากเหตุการณ์นี้ทำให้รัฐบาลสหพันธ์ออสเตรเลีย ร่างกฎหมายควบคุมอาวุธปืน ทำให้ออสเตรเลียกลายเข้มงวดครอบครองอาวุธปืนมากที่สุดประเทศหนึ่ง[ต้องการอ้างอิง]


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187