ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์

พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์ หมายถึง ข้อตกลงระหว่างสหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ในความร่วมมือระหว่างกันในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศในทวีปยุโรป ตามข้อตกลงลับในข้อตกลง "ประเทศในทวีปยุโรป" นี้เป็นที่เข้าใจว่าคือ เยอรมนี

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1939 ในการตอบสนองต่อท่าทีของเยอรมนีที่ฝ่าฝืนข้อตกลงมิวนิก และยึดครองเชโกสโลวาเกีย สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจึงสนับสนุนให้มีการรับประกันเอกราชของโปแลนด์

เมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1939 ระหว่างการเดินทางเยือนกรุงลอนดอนของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโปแลนด์ ได้มีการตกลงให้มีการรับรองอย่างเป็นทางการเป็น พันธมิตรทางการทหาร ผ่านการเจรจา

และเมื่อวันที่ 13 เมษายน การให้การรับรองดังกล่าวยังมีผลไปถึงกรีซและโรมาเนีย ภายหลังการรุกรานอัลเบเนียของอิตาลีด้วย

เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม สองวันหลังจากการลงนามในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ได้มีการลงนามในสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างอังกฤษ-โปแลนด์ ซึ่งมีเนื้อหาในการให้สัตยาบันการช่วยเหลือทางการทหารระหว่างประเทศคู่เจรจา ในกรณีที่อีกฝ่ายหนึ่งถูกรุกรานโดยประเทศในทวีปยุโรป สหราชอาณาจักร ซึ่งมองเห็นอันตรายจากการขยายดินแดนของเยอรมนี ต้องการจะป้องกันท่าทีคุกคามของเยอรมนี ด้วยการแสดงถึงความร่วมมือเป็นปึกแผ่น และในข้อตกลงลับของสนธิสัญญา สหราชอาณาจักรจะมอบความช่วยเหลือให้ในกรณีที่โปแลนด์ถูกรุกรานโดยเยอรมนีเท่านั้น และทั้งสหราชอาณาจักรและโปแลนด์ต่างก็ไม่ถูกผูกมัดไม่ให้เข้าเจรจากับประเทศที่สามแต่อย่างใด

ในขณะนั้น ฮิตเลอร์กำลังต้องการดินแดนของนครเสรีดานซิก การยอมให้ทหารเคลื่อนทัพผ่านฉนวนโปแลนด์ และการมอบสิทธิพิเศษให้กับชนกลุ่มน้อยเชื้อสายเยอรมันในโปแลนด์ ด้วยเงื่อนไขของพันธมิตรทางการทหาร คู่เจรจาทั้งสองฝ่ายสามารถตัดสินใจที่จะตอบโต้กับการรุกล้ำดินแดนด้วยกำลังไม่ว่ากรณีใด ๆ ซึ่งสนธิสัญญาดังกล่าวไม่ได้กำหนดข้อผูกมัดในการธำรงไว้ซึ่งบูรณภาพแห่งดินแดนของคู่เจรจาอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญาดังกล่าวได้มีการระบุถึง "ภัยคุกคามทางอ้อม" และความพยายามที่จะบ่อนทำลายเอกราชของคู่เจรจาอีกฝ่ายหนึ่งผ่าน "การแทรกซึมทางเศรษฐกิจ" ซึ่งหมายถึง ลักษณะพิเศษของเมืองดานซิก

รัฐบาลอังกฤษและรัฐบาลฝรั่งเศสต่างก็ตั้งใจที่จะดำเนินการอย่างอื่น นอกเหนือจากการปฏิบัติตามสนธิสัญญาที่ให้ไว้กับโปแลนด์ ในวันที่ 4 พฤษภาคม ผลของการประชุมในกรุงปารีส ได้ข้อสรุปว่า: "ชะตากรรมของโปแลนด์ขึ้นอยู่กับผลสุดท้ายของสงคราม ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของเราในการเอาชนะเยอรมนีมากกว่าการยื่นความช่วยเหลือให้กับโปแลนด์" รัฐบาลโปแลนด์ไม่ได้รับแจ้งให้ทราบการตัดสินใจดังกล่าว และการเจรจาระหว่างอังกฤษ-โปแลนด์ก็ยังคงดำเนินต่อไป และในเดือนพฤษภาคมนั้นเอง โปแลนด์ก็ได้ลงนามในข้อตกลงลับในพันธมิตรทางการทหารระหว่างฝรั่งเศส-โปแลนด์ เพิ่มเติมจากปี ค.ศ. 1921

จากผลของสนธิสัญญาดังกล่าว ทำให้ฮิตเลอร์เลื่อนกำหนดการรุกรานโปแลนด์ออกไป จากวันที่ 26 สิงหาคม ไปเป็นวันที่ 1 กันยายน

เมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 กองทัพแดงรุกรานโปแลนด์จากแนวชายแดนโปแลนด์ทางด้านตะวันออก รัฐบาลโปแลนด์สั่งการให้มีการถอนกำลังทั้งหมด และห้ามต้านทานทหารโซเวียต เนื่องจากทั้งการให้การรับรองฝ่ายเดียวของอังกฤษ และสนธิสัญญาสองฝ่าย กำหนดเงื่อนไขว่า คู่เจรจาที่ถูกรุกรานตัดสินใจที่จะเผชิญหน้ากับประเทศผู้รุกรานอย่างเป็นปรปักษ์ แต่เนื่องจากโปแลนด์ไม่กระทำเช่นนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ลอร์ดฮาลิแฟกซ์ จึงเตือนว่าสหราชอาณาจักรไม่จำเป็นที่จะต้องประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียตตามข้อตกลงแต่อย่างใด


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187