ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษาฟินแลนด์

ภาษาฟินแลนด์ ( suomi (วิธีใช้?ข้อมูล) ) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Me?nkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน

ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค

ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน

การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา ?-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) ?-แอ ?-เออวฺ

โดยที่ตัว C Q W X Z และ ? ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม

คำกริยาของภาษาฟินแลนด์มีกฎของการผันเช่นเดียวกับภาษาฝรั่งเศส คือการกระจายรูปของคำกริยาตามประธานของประโยค นอกจากนี้ยังต้องผันตามกาล แต่ผันเฉพาะอดีตกาล และปัจจุบันกาลเท่านั้น เราสามารถแบ่งกลุ่มของกริยาตามรูปแบบการผันในภาษาฟินแลนด์ได้เป็น5แบบ (ไม่รวมกริยายกเว้น) โดยจะยกตัวอย่างของV.Asua แปลว่า อยู่ อาศัย (ผันตามกฎรูปแบบที่1) Preesens ปัจจุบันกาล Min? asun (-n) Sin? asut (-t) H?n asuu (-Vokaali) Me asumme (-mme) Te asutte (-tte) He asuvat (-vat,v?t)

Imperfekti อดีตกาล Min? asuin Sin? asuit H?n asui Me asuimme Te asuitte He asuivat จะสังเกตได้ว่าการผันกริยาไม่ว่าในกาลไหนก็ตามจะมีการเปลี่ยนรูปเฉพาะด้านหลังเท่านั้น ซึ่งเปลี่ยนไปตามประธานแต่ละตัว

คำนามในภาษาฟินแลนด์มีลักษณะทต่างจากภาษายุโรปอื่นๆมาก โดยรากศัพท์ส่วนใหญ่มาจากภาษาซามิ(ชนเผ่าทางเหนือของสแกนดิเนเวียและรัสเซียตะวันตก) ภาษาเอสโตเนีย นอกจากนี้ ปัจจุบันคำที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดนและภาษาเยอรมันก็เป็นที่นิยมอยู่ไม่น้อย แต่นอกจากคำนามเหล่านี้จะมีรูปเอกพจน์และพหูพจน์แล้ว ยังต้องผันคำตามรูปแบบของคำที่ถูกใช้ในประโยคด้วย ทั้งนี้เป็นเพราะภาษาฟินแลนด์ไม่มีคำบุพบท ในที่นี้ขอยกตัวอย่างคำว่าTaloซึ่งแปลว่าบ้าน

คำคุณศัพท์เมื่อขยายคำนามก็ต้องผันตามคำนามที่ขยายด้วย เช่น iso talo บ้านใหญ่ isot talot บ้านใหญ่ (หลายหลัง) isossa talossa ในบ้านหลังใหญ่ (หลังเดียว) isoissa taloissa ในบ้านหลังใหญ่ (หลายหลัง)

ซึ่งหมายถึงคำต่างๆที่สะกดด้วยสระa o u เมื่อผันคำจนมีสระเพิ่มเข้ามาจะต้องใช้สระa ส่วนสระy ? ? เมื่อผันคำจนมีสระเพิ่มเข้ามาจะต้องใช้สระ? ในขณะที่ eและiสามารถใช้สะกดได้ทั้ง2กลุ่มสระ แต่เมื่อคำสะกดโดยสระeหรือiจะใช้สระ?

คำว่า"ไม่"่ในภาษาฟินแลนด์ยังสามารถเปลี่ยนตามประธานได้อีกคือ en, et, ei, emme, ette และeiv?t แต่โดยทั่วไปเมื่อต้องการแสดงการปฏิเสธหรือไม่ต้องการ ผู้พูดมักจะพูดว่า Ei!

กรีก ? โครเอเชีย ? เช็ก ? ดัตช์ ? เดนมาร์ก ? บัลแกเรีย ? โปรตุเกส ? โปแลนด์ ? ฝรั่งเศส ? ฟินแลนด์ ? มอลตา ? เยอรมัน ? โรมาเนีย ?ลัตเวีย ? ลิทัวเนีย ? สเปน ? สโลวัก ? สโลวีเนีย ? สวีเดน ? อังกฤษ ? อิตาลี ? เอสโตเนีย ? ไอริช ? ฮังการี


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187