ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษาอู๋

ภาษาอู๋ (??? พินอิน w? f?ng y?n; ?? พินอิน w? y?; ) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซี่ยงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนในอันฮุย เจียงสีและ ฝูเจี้ยน มีผู้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประโยคเช่นนี้มากกว่าภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาอู๋มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้หรือภาษาเซี่ยงไฮ้

จำนวนผู้พูดโดยเฉลี่ยของสำเนียงอู๋จะอ้างถึงสำเนียงของตนและเพิ่มชื่อถิ่นที่อยู่ของตนเข้าไป คำที่ใช้เรียกภาษาอู๋มีหลายคำดังนี้

ภาษาอู๋สมัยใหม่เป็นภาษาที่ใช้โดยชาวอู๋และชาวเยว่ที่มีศูนย์กลางอยู่ทางใต้ของเจียงซูและทางเหนือของเจ๋อเจียง คำในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงภาษาจีน (?? goon?) การออกเสียงตัวคันจินี้มาจากบริเวณที่พูดภาษาอู๋ในปัจจุบัน

ภาษาอู๋สืบทอดมาจากภาษาจีนยุคกลาง ภาษาอู๋จัดเป็นสำเนียงที่แยกตัวออกในช่วงต้นๆและยังคงมีลักษณะของภาษาในยุคโบราณอยู่มาก แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนเหนือหรือแมนดารินระหว่างพัฒนาการ ซึ่งเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับภาคเหนือ และในบริเวณนี้เป็นพื้นที่ที่ได้รับการศึกษาสูง ระหว่างการลุกฮือของ อู๋ ฮู และหายนภัยของหยงเจี๋ย ทำให้มีชาวจีนทางเหนือเข้ามาตั้งหลักแหล่งมาก ส่วนใหญ่มาจากเจียงซูและซานตง มีส่วนน้อยมาจากที่ราบภาคกลาง ทำให้เกิดภาษาอู๋สมัยใหม่ขึ้น ในช่วงเวลาระหว่างราชวงศ์หมิงและยุคสาธารณรัฐตอนต้นเป็นช่วงลักษณะของภาษาอู๋สมัยใหม่ได้ก่อตัวขึ้นมา สำเนียงซูโจวเป็นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลมากที่สุดและมักใช้อ้างอิงเป็นตัวอย่างของภาษาอู๋

ในช่วงหลังจากกบฏไท่ผิงจนสิ้นสุดราชวงศ์ชิง บริเวณที่พูดภาษาอู๋ถูกทำลายด้วยสงคราม เซี่ยงไฮ้เป็นบริเวณที่มีผู้อพยพจากส่วนอื่นๆที่ใช้ภาษาอู๋เข้ามามาก ทำให้มีผลต่อสำเนียงเซี่ยงไฮ้ เช่นมีการนำอิทธิพลของสำเนียงนิงโปเข้ามา และจากการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วทำให้กลายเป็นบริเวณที่เป็นศูนย์กลาง สำเนียงเซี่ยงไฮ้จึงมีความสำคัญมากกว่าสำเนียงซูโจว

หลังจากก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างมากในบริเวณที่ใช้ภาษาอู๋ ภาษาอู๋ไม่มีการใช้ในสื่อต่างๆและโรงเรียน หน่วยงานทางราชการต้องใช้ภาษาจีนกลางด้วยอิทธิพลของผู้อพยพเข้าที่ไม่ได้ใช้ภาษาอู๋ การที่สื่อต่างๆใช้ภาษาจีนกลาง ทำให้เด็กที่เติบโตขึ้นมาคุ้นเคยกับภาษาจีนกลางมากกว่าภาษาอู๋ มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการอนุรักษ์ภาษานี้ มีรายการโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาอู๋อีกครั้งแต่ก็ยังมีขอบเขตจำกัด

แบ่งออกเป็นสองกลุ่มหลักคือภาษาอู๋เหนือและอู๋ใต้ ซึ่งเข้าใจกันได้เพียงบางส่วน ตามที่จำแนกโดย Yan (2006) สำเนียงของภาษาอู๋มี 6 สำเนียงคือ

ภาษาอู๋เป็นสำเนียงที่ยังคงรักษาการออกเสียงก้อง เสียงเสียดแทรก จากภาษาจีนยุคกลางไว้ได้ และยังรักษาเสียงวรรณยุกต์แบบภาษาจีนยุคกลางไว้ได้อีกด้วย โดยสำเนียงเซี่ยงไฮ้มีเสียงวรรณยุกต์ลดลง

ระบบสรรพนามของภาษาอู๋มีความซับซ้อนเมื่อใช้เป็นสรรพนามแสดงบุคคลหรือตำแหน่ง สรรพนามบุรุษที่ 1 พหูพจน์แบ่งเป็นรวมผู้ฟังและไม่รวมผู้ฟัง สรรพนามแสดงตำแหน่งในภาษาอู๋มีถึง 6 ตำแหน่ง โดยมีตำแหน่งใกล้ 3 คำ ตำแหน่งไกล 3 คำ การเรียงประโยคในภาษาอู๋เป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม เช่นเดียวกับภาษาจีนกลาง แต่ก็พบการเรียงประโยคแบบ ประธาน-กรรม-กริยา หรือ กรรม-ประธาน-กริยาอยู่บ้าง เสียงวรรณยุกต์มีความซับซ้อน ในบางครั้งการแยกกรรมตรงและกรรมรองออกจากกัน จะต่างเพียงการใช้เสียงก้องและเสียงไม่ก้องเท่านั้น

ภาษาอู๋ยังคงรักษาคำศัพท์โบราณจากภาษาจีนคลาสสิก ภาษาจีนยุคกลางและภาษาจีนโบราณได้เช่นเดียวกับสำเนียงของภาษาจีนทางใต้อื่นๆ ภาษาอู๋นิยมใช้คำศัพท์จากภาษาจีนโบราณ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187