ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

มัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (อังกฤษ: Maldives; ดิเวฮิ: ????????????) หรือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (อังกฤษ: Republic of Maldives; ดิเวฮิ: ?????? ???????? ????????????) มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและศรีลังกา

ภูมิประเทศ พื้นที่ความยาวจากเหนือจรดใต้ 821 กิโลเมตร จากตะวันออกจรดตะวันตก 120 กิโลเมตร แต่เป็นพื้นที่ดินรวมเพียง 300 ตารางกิโลเมตรมีจุดสูงสุดเพียง 2.3 เมตร ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการัง 26 กลุ่ม (atoll) รวม 1,190 เกาะ มีประชากรอาศัยอยู่เพียงประมาณ 200 เกาะ และได้รับการพัฒนาเป็นโรงแรมสำหรับนักท่องเที่ยว 74 เกาะ

ภูมิอากาศเป็นแบบเขตร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 27 – 30 C (18-90 F) ตลอดทั้งบีช่วงที่ปราศจากมรสุม ได้แก่ ช่วงเดือนธันวาคม – มีนาคม

ชนพื้นเมืองพวกแรกที่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ตั้งแต่ก่อนคริสตกาล คือ พวกดราวิเดียนและ สิงหล ซึ่งนับถือศาสนาพุทธ ชาวมัลดีฟส์โบราณจึงนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลัก

ต่อมาในคริสต์ศวรรษที่ 12 มัลดีฟส์ได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม และมีสุลต่านราชวงศ์ต่าง ๆ เป็นผู้ปกครองประเทศในยุคแรก ได้แก่

ชาวโปรตุเกสได้พยายามเข้ายึดครองมัลดีฟส์ตั้งแต่คริสตวรรษที่ 13 และ ประสบความสำเร็จในปี ค.ศ. 1558 (พ.ศ. 2101) และได้ปกครองมัลดีฟส์อยู่เป็นเวลา 15 ปี ต่อมาในปี ค.ศ. 1573 (พ.ศ. 2116) มีการสถาปนาการปกครองระบบสุลต่านขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยมีการตั้งราชวงศ์อุทีมุ (Utheemu) ซึ่งมีสุลต่านในราชวงศ์ 5 พระองค์ ปกครองเป็นเวลา 121 ปี ในสมัยราชวงศ์นี้ มีการพัฒนาระบบการปกครอง การทหารและการเงินให้ดีขึ้น ต่อมามีราชวงศ์ปกครองอีก 3 ราชวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์อิสดู (Isdhoo), ราชวงศ์ดิยมิกิลิ (Dhiyamigili) และ ราชวงศ์หุราเก (Huraage)

ในปี ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) สหราชอาณาจักรได้แผ่อิทธิพลในแถบมหาสมุทรอินเดีย สุลต่านมูฮัมหมัด มูอีนุดดีนที่ 2 (Muhammad Mueenudhdheen II) จึงได้ทำข้อตกลงThe Agreement on December 16th , 1887 กับอังกฤษ ซึ่งส่งผลให้มัลดีฟส์อยู่ภายใต้การอารักขาของสหราชอาณาจักร (Protection period)

ในปี ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) อังกฤษให้เอกราชแก่ศรีลังกา มัลดีฟส์จึงแยกตัวออกจาก ศรีลังกา โดยยังคงสถานะเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ ต่อมาในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) ได้มีการสถาปนาระบบสุลต่านขึ้นอีกครั้ง โดยมีการปกครองโดยรัฐสภา มีสภาสูงซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 80 คน และสภาล่างอีก 46 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน

เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1965 (พ.ศ. 2508) อังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่มัลดีฟส์ หลังจากเป็นดินแดนในอารักขาของอังกฤษเป็นเวลา 79 ปี แต่อังกฤษยังคงเช่าเกาะกาน (Gan Island) ทางตอนใต้สุดของประเทศไว้เป็นฐานทัพถึงปี ค.ศ. 1986 (พ.ศ. 2529)

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1968 (พ.ศ. 2511) มัลดีฟส์ยกเลิกระบบสุลต่านและได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ โดยมีนาย อิบบราฮิม นาซีร์ เข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของมัลดีฟส์และบริหารประเทศจนถึงปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) ต่อมา นาย เมามูน อับดุล กายูม ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสืบแทนจนกระทั่งปัจจุบัน โดยได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีติดต่อกับถึง 5 สมัย (สมัยละ 5 ปี) นับเป็นประมุขฝ่ายบริหารที่บริหารประเทศนานที่สุดในภูมิภาคเอเชียใต้

ระบอบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง อยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี เป็นประมุขรัฐและหัวหน้ารัฐบาลมีอำนาจสั่งการและแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หัวหน้าคณะผู้พิพากษา และ เป็นผู้บัญชาการกองกำลังรักษาความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Service)

ฝ่ายนิติบัญญัติ มี 1 สภา เรียกว่า สภาประชาชนมัลดีฟส์ (Citizen Council) หรือมัจลิส (Majlis) สมาชิกมาจากการเลือกตั้ง 40 คน และ ประธานาธิบดีแต่งตั้งอีก 8 คน ไม่มีพรรคการเมือง

ฝ่ายตุลาการ เป็นระบบศาลสูง (High Court) ระบบกฎหมายใช้กฎหมายอิสลามเป็นพื้นฐานผสมกับระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ของอังกฤษ

ไทยกับมัลดีฟส์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตในระดับเอกอัครราชทูต เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2522 และมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันมาโดยตลอด ทั้งในระดับรัฐบาลและประชาชน ปัจจุบันเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคลัมโบ ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำ มัลดีฟส์ และข้าหลวงใหญ่มัลดีฟส์ประจำศรีลังกา ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตมัลดีฟส์ประจำประเทศไทย

สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย 5 อันดับแรก ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้าและชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์พลาสติก ข้าว และผลิตภัณฑ์เซรามิก สินค้านำเข้าที่สำคัญจากมัลดีฟส์มีเพียงสิ่งเดียว ได้แก่ ปลาทูน่าสด แช่แข็งและแช่เย็น

ชนพื้นเมืองที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในประเทศมัลดีฟส์ คือกลุ่มผู้ใช้ตระกูลภาษาอินโด-อารยัน ซึ่งอพยพมาจากศรีลังกา เมื่อหลายศตวรรษแล้ว และเป็นบรรพบุรุษของชาวมัลดีฟส์ในปัจจุบันพยพเข้ามา ต่อมาในศตวรรษที่ 12 ก็มีชาวแอฟริกัน และชาวอาหรับ อพยพมาอยู่อาศัยกัน

กลุ่มชนกลุ่มแรกของมัลดีฟส์ ช่วงแรกนั้น จะนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท (ดูเพิ่มเติมได้ที่พุทธศาสนาในประเทศมัลดีฟส์) แต่ต่อมามีการเข้ารีตนับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่จำนวนมาก และในปัจจุบันก็ได้เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมัลดีฟส์ ในร้อยละ 99


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187