ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ยุทธการทะเลสาบคาซาน

ยุทธการทะเลสาบคาซาน (อังกฤษ: Battle of Lake Khasan) หรือ เหตุการณ์ชางกูเฟิง (จีนและญี่ปุ่น: ?????, พินอิน: Zh?ngg?f?ng Sh?ji?n, การออกเสียงแบบญี่ปุ่น: Ch?koh? Jiken) ซึ่งเป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่าง แมนจูกัว ซึ่งเป็นดินแดนยึดครองของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปยังดินแดนของสหภาพโซเวียต การรุกล้ำอาณาเขตดังกล่าวนั้นเกิดจากความเชื่อของฝ่ายญี่ปุ่นที่ว่าสหภาพโซเวียตตีความตามสนธิสัญญาปักกิ่งผิดไป ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่ได้รับการลงนามมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิรัสเซีย และประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงแล้ว และนอกเหนือจากนั้น เครื่องหมายกั้นอาณาเขตของทั้งสองฝ่ายก็ไม่มีความแน่นอน

เป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ได้เกิดความขัดแย้งตามแนวชายแดนระหว่างรัสเซีย ญี่ปุ่นและจีน ตามดินแดนซึ่งในปัจจุบันเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ทางรถไฟสายจีนตะวันออก (อังกฤษ: CER, Chinese Eastern Railway) เป็นทางรถไฟที่เชื่อมระหว่างแมนจูเรียและภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย และทางรถไฟที่แยกไปทางทิศใต้ของทางรถไฟสายจีนตะวันออกนั้น หรือที่เรียกกันว่า ทางรถไฟสายแมนจูเรียใต้ ได้กลายมาเป็นจุดสำคัญที่นำไปสู่สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น และต่อมาได้นำไปสู่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง และสงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่นด้วยเช่นกัน ความขัดแย้งที่ได้ขยายออกไปนั้น อย่างเช่น ความขัดแย้งจีน-โซเวียต (1929) และกรณีมุกเดน ในปี ค.ศ. 1931

เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1938 เมื่อผู้ช่วยทูตญี่ปุ่นในกรุงมอสโก ต้องการให้ฝ่ายโซเวียตถอนกำลังทหารตามแนวชายแดนออกไปจากพื้นที่เบซีมยานนายา (รัสเซีย: ?????? ??????????, จีน: Shachaofeng) และเนินเขาซาโอซยอร์นายา (รัสเซีย: ?????? ?????????, จีน: Changkufeng) ทางตะวันตกของทะเลสาบคาซาน ทางตอนใต้ของไปรมอร์สกี้ ไคร ไม่ไกลจากเมืองวลาดิวอสตอก และให้เปลี่ยนไปยึดเอาแนวชายแดนโซเวียต-เกาหลีเป็นหลัก แต่ข้อเรียกร้องดังกล่าวได้รับการปฏิเสธ

กองทัพญี่ปุ่นโจมตีครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม แต่ก็ถูกตีโต้กลับมา แต่ในวันที่ 31 กรกฎาคม กองทัพโซเวียตจำเป็นต้องล่าถอย กองพลที่ 19 แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นและกองกำลังแมนจูกัวบางส่วนสามารถเอาชนะเหล่าทหารไรเฟิลที่ 39 ภายใต้การบังคับบัญชาของ G. Shtern (ซึ่งอาจประกอบด้วย กองพลไรเฟิลที่ 32 ที่ 39 และที่ 40 และกองพลน้อยยานยนต์ที่ 2) หนึ่งในผู้บัญชาการของกองทัพญี่ปุ่นในการรบ คือ พันเอกโคโตกุ ซาโต ผู้บัญชาการกรมทหารราบที่ 75 กองกำลังของเขาสามารถขับไล่กองทัพโซเวียตลงจากเนินเขาได้จากการโจมตียามกลางคืน

นอกจากนั้น ยังมีรายงานอีกว่าฝ่ายญี่ปุ่นได้นำรถถังขนาดเบาและรถถังขนาดกลางเข้ามาทำการรบด้วย ส่วนทางฝ่ายโซเวียตก็ได้มีการตอบโต้ด้วยรถถังและปืนใหญ่เช่นกัน ในปี ค.ศ. 1933 ฝ่ายญี่ปุ่นได้มีการออกแบบและก่อสร้างรถไฟหุ้มเกราะพิเศษ (Rinji Soko Ressha) ซึ่งได้บรรจุอยู่ในหน่วยรถไฟหุ้มเกราะที่ 2 ในแมนจูเรีย และมีส่วนร่วมในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง และในยุทธการทะเลสาบคาซาน และสนับสนุนการทำการรบโดยส่งกองกำลังหนุนในแก่แนวหน้า

ภายใต้การบังคับบัญชาของ Vasily Blyukher จอมพลแห่งแนวตะวันออกไกล ซึ่งได้เรียกกำลังหนุนเข้าสู่พื้นที่ และหลังจากการรบหลายครั้งระหว่างวันที่ 2 สิงหาคม จนถึงวันที่ 9 สิงหาคม กองทัพโซเวียตก็สามารถขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกไปจากดินแดนโซเวียตได้สำเร็จ

ในวันที่ 10 สิงหาคม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่นได้เดินทางไปยังสหรัฐอเมริกา เพื่อเรียกร้องสันติภาพ และการรบสิ้นสุดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม

ฝ่ายญี่ปุ่น ทหารญี่ปุ่นได้รับบทเรียนอันใหญ่หลวง แต่ก็ยังมีความต้องการที่จะโจมตีสหภาพโซเวียตอีกครั้ง ในยุทธการที่มีขนาดใหญ่กว่าเดิม คือ ยุทธการขาลขิน กอล ในสงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1939

ส่วนทางฝ่ายโซเวียต ความพ่ายแพ้ที่เกิดขึ้นหลายครั้งทำให้ Vasily Blyukher ได้รับการประณามว่าไร้ความสามารถเพียงพอ เขาถูกจับกุมตัวโดย NKVD และถูกประหารชีวิต


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187