ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

รถลาก

รถลาก (Rickshaw) หรือคนไทยเรียกว่า รถเจ๊ก เป็นยานพาหนะที่ใช้คนลาก ตัวรถมีลักษณะเป็นเกวียนที่มีสองล้อ รถลากเป็นที่นิยมในเมืองตางๆในเอเชีย อาทิ โยโกฮามา (ญี่ปุ่น),ปักกิ่ง (จีน), เซี่ยงไฮ้ (จีน),ร่างกุ้ง (พม่า) กัลกัตตา มุมไบหรือบอมเบย์ (อินเดีย) และ บางกอก (ไทย)

จากภาพเขียน "Les deux carrosses" (ปี ค.ศ. 1707)โดย Claude Gillot แสดงให้เห็นว่ามีการใช้รถลากมาตั้งแต่ ศตวรรษที่ 17 บนท้องถนนปารีส รถลากเริ่มมีให้เห็นในญี่ปุ่นในปี 1868 ในสมัยเมจิ โดยได้รับความนิยมในเวลาต่อมา เพราะสามารถสัญจรได้เร็วกว่าเกี้ยว (และการใช้แรงงานคนราคาถูกกว่าใช้ม้า) ส่วนคนที่เริ่มประดิษฐ์รถลาก เท่าที่มีการบันทึกได้ คือช่างเหล็กชาวอเมริกันชื่อ Albert Tolman ที่ถูกพูดว่าได้ประดิษฐ์รถลากในช่วงปี 1848 ใน Worcester รัฐ Massachusetts ไว้ให้มิชชันนารี

อีกคนที่อ้างถึงคือ Jonathan Scobie (หรือ W. Goble)มิชชันนารีชาวอเมริกันในญี่ปุ่น ประดิษฐ์รถลากในปี 1869 ให้ภรรยาเดินทางในถนนในโยโกฮามา ในญี่ปุ่นมักกล่าวว่าคนประดิษฐ์คือ อิซุมิ โยสุเกะ, ซูซุกิ โตคูจิโร่ , และ ทากายาม่า โคสุเกะ ที่ประดิษฐ์ในปี 1868 โดยในปี 1870 ผู้ปกครองโตเกียวได้อนุญาตให้ทั้ง 3 คน สร้างและขาย โดยคนที่ซื้อรถลากจะต้องได้ใบอนุญาตจากหนึ่งในสามของผู้ผลิต

รถลากมีในอินเดียในปี 1880 ส่วนในจีนมีการใช้รถลากเพื่อขนส่งสินค้า ในปี 1914 จีนจึงอนุญาตให้ใช้รถลากในการสัญจรคน

รถลากในประเทศไทยหรือที่เรียกกันว่า รถเจ๊ก เพราะพาหนะประเภทนี้มีแต่คนจีนเป็นผู้มีอาชีพรับจ้างลาก ดั้งเดิมเป็นของญี่ปุ่น แต่แรกเมื่อในรัชกาลที่ 4 นั้น พวกพ่อค้าสำเภานำมาน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ จึงโปรดฯให้ซื้อเข้ามาพระราชทานเจ้านาย และขุนนางผู้ใหญ่บ้าง สั่งซื้อกันเองบ้าง ใช้เป็นพาหนะส่วนพระองค์และส่วนตัว แต่ที่สั่งมาใช้วิ่งรับส่งคนโดยสารและบรรทุกของนั้น ผู้สั่งเข้ามาเป็นคนแรกชื่อ นายฮ่องเชียง แซ่โหงว เมื่อ พ.ศ. 2417 ต้นรัชกาลที่ 5 เมื่อผู้คนนิยมกันมากขึ้น พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (พุก) จึงตั้งโรงงานทำรถลากขึ้นในเมืองไทยเสียเองโดยสั่งช่างมาจากเมืองจีน รถลากรับจ้างเริ่มมีบนถนนมากขึ้น จนกระทั่งจำเป็นต้องควบคุม พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง จึงโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติรถลาก ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444) ขึ้น โดยมีพระราชปรารภว่า

"กรุงเทพพระมหานครในทุกวันนี้ มีรถคนลากสำหรับรับจ้างคนโดยสาร และรับบรรทุกของเดินในถนนหนทางทวียิ่งขึ้นเป็นอันมาก แต่รถที่ใช้นั้นไม่แข็งแรงมั่นคง แลไม่มีสิ่งที่สำหรับป้องกันอันตรายของผู้โดยสาร กับทั้งไม่สะอาดเรียบร้อยตลอดไปจนคนลากรถด้วย ย่อมเป็นที่รังเกียจรำคาญแก่ผู้ที่จะใช้รถ หรือผู้เดินทางในท้องถนนร่วมกัน อีกประการหนึ่ง คนที่ลากรถนั้น บางทีรับคนโดยสารหรือรับบรรทุกสิ่งของที่มากหรือหนักเกินกำลังรถที่จะพาไปได้ จนเป็นเหตุเกิดอันตรายแก่คนโดยสารแลคนเดินทางกับทั้งรถ แลไม่เป็นความเรียบร้อยในท้องถนนอีกด้วย"

พระราชบัญญัตินี้ บังคับให้ต้องจดทะเบียนรถ และต้องนำรถมาตรวจสภาพต่อเจ้าพนักงานจดทะเบียน หลังจดทะเบียนแล้ว เจ้าหน้าที่จะให้เลขหมายติดรถ และให้เครื่องหมายที่มีเลขตรงกันกับทะเบียนรถให้คนลากติดหน้าอกไว้ให้ตรงกัน บังคับให้จุดโคมไฟเวลากลางคืน และยังมีข้อบังคับปลีกย่อยอีกหลายข้อ เช่นห้ามบรรทุกศพคน ให้จอดพักรถตามที่พนักงานกำหนดไว้เท่านั้น ฯลฯ

รถลากหรือรถเจ๊กนี้ วิ่งในถนนตั้งแต่ พ.ศ. 2417 เลิกใช้ตามกฎหมาย เมื่อ พ.ศ. 2478 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187