ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง (อิตาลี: Regno delle Due Sicilie; อังกฤษ: Kingdom of the Two Sicilies) เป็นชื่อใหม่ที่สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง หรือสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บงทรงประทานให้แก่บริเวณทางใต้ของอิตาลีและซิซิลีหลังจากสมัยนโปเลียนและการฟื้นฟูอำนาจเมื่อปี ค.ศ. 1816 ที่มีเมืองหลวงอยู่ที่เนเปิลส์

ก่อนที่ฝรั่งเศสจะรุกรานในสมัยนโปเลียนราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่ในบริเวณนี้ซึ่งขณะนั้นแบ่งเป็นสองราชอาณาจักร: ราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลี พระเจ้าชาลส์ที่ 7 ทรงขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสเปน เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1759 มาตรา 2 ของสนธิสัญญาเนเปิลส์ลงนามเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1759 กำหนดให้ทรงตั้งพระราชโอรสองค์ที่สาม เจ้าชายดอนเฟอร์ดินานโด (ที่ทรงตั้งราชโอรสองค์ที่ 4 เพราะต้องยกเว้นราชโอรสองค์แรกเจ้าชายฟิลลิปดยุคแห่งคาลาเบรียผู้ทรงเป็นปัญญาอ่อน) ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

พระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ทรงได้รับมงกุฏซิซิลีทั้งสองในพระนามพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์และพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 3 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีตามกำหนดของกฎการสืบราชบัลลังก์ (Pragmatic Decree) ของวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1759 ซึ่งกำหนดว่าผู้สืบราชวงศ์จะไปทางพระราชโอรสของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ และถ้าไม่มีพระราชโอรสก็จะไปทางพระอนุชา นอกจากว่ากษัตริย์แห่งสเปนจะรวมกับราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง ซึ่งถ้าเกิดขึ้นก็จะตกไปเป็นของพระราชโอรส, พระราชนัดดา หรือ great-grandson ของผู้ครองสองนคร

ถ้าสายของสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสเปนสิ้นสุดลง มงกุฏราชบัลลังก์ซิซิลีทั้งสองก็จะตกไปเป็นของพระญาติสตรีที่ใกล้ที่สุดกับพระเจ้าแผ่นดินองค์ก่อน หลังจากเปลี่ยนชื่อราชอาณาจักรเป็นราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองแล้วเจ้าชายเฟอร์ดินานด์ก็ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่าสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

ชื่อ “ซิซิลีทั้งสอง” มาจากการแยกอาณาจักรซิซิลีในปี ค.ศ. 1282 แม้ว่าจะปกครองอย่างเป็นอาณาจักรเดียวมาร่วมร้อยห้าสิบปี เกาะซิซิลีและแผ่นดินใหญ่แยกตัวจากกันเมื่อ Sicilian Vespers แข็งตัวและขับการปกครองของเนเปิลส์ออกจากซิซิลีและยอมรับกษัตริย์จากอารากอนแทนที่

ราชอาณาจักรเนเปิลส์ฝรั่งเศสปกครองบริเวณเนเปิลส์แต่ยังใช้เรียกตนเองว่าราชอาณาจักรซิซิลีเพื่อแสดงว่ายังเป็นเจ้าของซิซิลีอยู่ ฉะนั้นบริเวณเนเปิลส์จึงเป็นที่รู้จักกันในนาม “ราชอาณาจักรซิซิลีทางฝั่งแหลมฟาโร” ตามประภาคารตรงปลายแหลมทางด้านช่องแคบเมสสินา แม้ว่าราชอาณาจักรซิซิลีมิได้ใช้ชื่อเรียกตนเองว่า “ราชอาณาจักรซิซิลี” มาตั้งแต่สัญญาสงบศึกคาลตาเบลลอตตาในปี ค.ศ. 1302 แต่ใช้ชื่อตรีนาเกรียแทนที่

อาณาจักรทั้งสองมิได้เป็นอิสระภายใต้การปกครองของตนเองจนกระทั่งปี ค.ศ. 1735 ภายใต้การนำของสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสเปน และมิได้รวมเป็นอาณาจักรเดียวกันจนกระทั่งปี ค.ศ. 1815 ตามการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna)

ระหว่างปี ค.ศ. 1816 ถึงปี ค.ศ. 1848 เกิดการปฏิวัติต่อต้านการปกครองของราชวงศ์บูร์บงถึงสามครั้งในอิตาลีรวมทั้งการปฏิวัติเพื่ออิสรภาพของซิซิลี ปี ค.ศ. 1848 เมื่อซิซิลีเป็นอิสระจากการปกครองของราชวงศ์บูร์บงเป็นเวลา 16 เดือน

ในปี ค.ศ. 1860 - 1861 ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองสูญเสียอิสรภาพต่อราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย ตำแหน่งอาณาจักรซิซิลีทั้งสองจึงสิ้นสุดลง แต่ก็ยังมีการอ้างสิทธิโดยประมุขของราชวงศ์บูร์บง-ซิซิลี

ราชวงศ์บางราชวงศ์ยังมีสัมพันธไมตรีกับราชวงศ์บูร์บง-ซิซิลีทั้งสองนอกบัลลังก์รวมทั้งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย, พระเจ้าแผ่นดินแห่งบาวาเรีย, วืร์ทเต็มเบิร์ก และฮาโนเวอร์, พระราชินีแห่งสเปน สมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย และ พระสันตะปาปา

อาณาจักรพระสันตะปาปา ? อิตาลี ? จักรวรรดิโรมัน ? ซาร์ดิเนีย ? ซิซิลีทั้งสอง ? ซิซิลี ? เนเปิลส์ ? ลอมบาร์ด ? ลอมบาร์ดี-เวเนเชีย ? ทัสกานี ? มิลาน ? ปาร์มา ? โมเดนาและเรจโจ ? อูร์บีโน ? มัสซาและการ์รารา ? ลูคคา ? เพรซิดิ ? โซรา ? เทรนต์ ? มานตัว ? มอนต์เฟอร์รัต ? ซาลุซโซ ? สโปเลโต ? จักรวรรดิไบแซนไทน์ ? อิตาลี (นโปเลียน) ? อิตาลี (ยุคกลาง) ? อิทรูเรีย ? ซาแลร์โน ? เบเนเวนโต ?


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187