ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ลาเวนเดอร์

ลาเวนเดอร์ (Lavandula) เป็นสกุลของพืชดอก จากการรายงานในปัจจุบันมีทั้งหมด 41 ชนิด ในวงศ์กะเพรา,วงศ์มินต์ (Lamiaceae) เป็นพืชพื้นเมืองในยุคโบราณซึ่งถูกค้นพบจากเคปเวิร์ดและหมู่เกาะคานารี ทางตอนใต้ของยุโรปข้ามไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา เมดิเตอร์เรเนียน เอเชียตะวันตกเฉียงใต้จรดไปอินเดียตะวันออกเฉียงใต้ จากหลักฐานพบว่ามีการใช้เป็นเครื่องหอมมาตั้งแต่สมัยเมโสโปเตเมียละอิยิปต์โบราณนานกว่า 2500 ปีก่อนหน้า เชื่อว่ามีการใช้ในกระบวนการ mummification ในขั้นตอนการพันเฝือกจะนำผ้าลินินชุบยางมะตอยที่มีส่วนผสมของลาเวนเดอร์ ซึ่งช่วยดับกลิ่นได้ดี ลาเวนเดอร์ถูกใช้อย่างแพร่หลายในสหราชอาณาจักร โดยเชื่อว่าทหารโรมันเป็นกลุ่มแรกที่นำเข้ามา จากหลักฐานเชื่อว่าลาเวนเดอร์มีสรรพคุณหลายประการ เช่น เป็นสารค่าเชื้อในธรรมชาติ ไล่แมลง ใช้ผสมอาหารและการใช้ในการชำระล้าง อาบน้ำของราชวงศ์อังกฤษ จากบันทึกพบว่าในปี ค.ศ. 1500 Queen Elizabeth ที่ 1 ใช้ลาเวนเดอร์ในการเป็นเครื่องหอมส่วนพระองค์ และการชงชาเพื่อรักษาอาการไมเกรน และในโรคระบาดครั้งใหญในลอนดอน ปี 1665 ลาเวนเดอร์ถูกนำมาช่วยเหลือประชาชนเกี่ยวกับการติดเชื้อต่าง ๆ

คำว่า "ลาเวนเดอร์" ในภาษาอังกฤษ เดิมถูกเข้าใจว่ามาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าที่ว่า "lavandre" แต่ท้ายที่สุดคำว่าลาเวนเดอร์นั้นกลับมาจากภาษาละติน "lavare" (ชำระล้าง) ซึ่งอาจหมายถึงประโยชน์ของมันในการชำระล้างร่างกายและจิตใจ ในสมัยก่อนการชำระล้างร่างกายยังไม่นิยมใช้น้ำ แต่จะใช้เครื่องหอมต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่นำมาใช้จากดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมและลาเวนเดอร์เป็นหนึ่งในนั้น

ลาเวนเดอร์ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางกับสมุนไพรและน้ำมันหอมระเหย และเชื่อว่าลาเวนเดอร์สามารถบรรเทาแมลงกัด แผลไหม้ และอาการปวดหัวได้ นอกจากนี้ ช่อลาเวนเดอร์ยังสามารถขับไล่แมลง ดอกและเมล็ดลาเวนเดอร์สามารถช่วยให้การนอนหลับนั้นผ่อนคลาย การชงยอดอ่อนของลาเวนเดอร์ลงในถ้วยน้ำร้อนก็สามารถช่วยให้นอนหลับสบาย นอกจากนี้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบสารสำคัญในลาเวนเดอร์ ได้แก่ สาร Linalool, Linalyl acetate, Lavandulol และ Lavandulyl acetate โดยเฉพาะสาร Linalool คือสารที่ทำให้ลาเวนเดอร์มีกลิ่นหอม มีฤทธิ์ช่วยทำให้รู้สึกสงบและผ่อนคลายกล้ามเนื้อจึงเป็นที่นิยมทำเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มากมายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

ในศตวรรษที่ 21 นี้ ลาเวนเดอร์นั้นเป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมมากมาย จากประโยชน์ในเรื่องของกลิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ของมันซึ่งช่วยให้ผ่อนคลาย หลากหลายอุตสาหกรรมใช้ลาเวนเดอร์ในผลิตภัณฑ์ของพวกเขา แต่อุตสาหกรรมที่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดเห็นจะเป็นอุตสาหกรรมน้ำหอมและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว เช่น สบู่ ครีม เป็นต้น

ลาเวนเดอร์ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในยุโรป จากข้มูล ประเทศที่มีการนำเข้าและส่งออกลาเวนเดอร์ (https://www.tridge.com/intelligences/lavender-oil/export) พบว่าประเทศโปแลนด์มีการนำเข้ามากที่สุดที่่ 142.9 USD และส่งออกมากที่สุดที่ 3.91 USD

ลาเวนเดอร์มีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดมีการกระจายพันธุ์ ความทนทานต่อสภาพอากาศที่แตกต่างกัน ขั้นแรกควรเลือกชนิดพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสถานที่ปลูกและขนาดของต้นกล้าที่จะนำมาปลูกเพื่อเหมาะสมนำไปใช้ประโยชน์ ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดในการปลูกลาเวนเดอร์คือเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เข้าฤดูร้อนอย่างเต็มที่ ความชื้นในดินจากฤดูหนาวเริ่มลดลง

ลาเวนเดอร์ชอบแดดจัดและดินที่ระบายน้ำได้ดี ดินที่เสื่อมโทรมและค่อนข้างเป็นเบส แต่ก็มีข้อควรระวังในช่วงเริ่มต้นควรควคุมน้ำในแปลงให้สม่ำเสมอก่อนเพื่อให้เวลาลาเวนเดอร์ได้ปรับตัวกับสถานที่ปลูก จากนั้นก็จะสามารถเลี้ยงในสภาวะที่แล้งมากขึ้นได้ ในบางประเทศและบางสวนอาจมีการตัดยอดนช่วงปลายฤดูร้อนเพื่อให้ฟอร์มต้นสวยงาม ส่วนมากจะนิยมทำกันในแปลงที่ส่งทั้งช่อเพื่อการค้าขาย

อย่าปลูกต้นอ่อนในช่วงฤดูหนาวเพราะความชื้นทั้งในดินและสภาพอากาศที่ชื้นจะทำให้รากและต้นเน่าตายได้ ส่วนในเรื่องแมลงที่เป็นศัตรูกับลาเวนเดอร์มีหลายชนิด เช่น rosemary beetle, sage and ligurian leafhopper, cuckoo spit และ Xylella sp.

การเก็บเกี่ยวลาเวนเดอร์นั้นระยะเวลา วิธีการเก็บ ส่วนของต้นที่เก็บจะแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ จะแบ่งเป็น 4 ประเภทดังนี้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519