ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

สนธิสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น

กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น (อังกฤษ: Soviet–Japanese Neutrality Pact) (ญี่ปุ่น: ??????, Nisso Ch?ritsu J?yaku ?) คือสนธิสัญญาระหว่าง สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น ลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1941 สองปีหลังจากสงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่น

หลังจากที่สงครามอุบัติขึ้นในทวีปยุโรประหว่างสหราชอาณาจักรกับฝรั่งเศสฝ่ายหนึ่ง และนาซีเยอรมนีอีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 1939 สหภาพโซเวียตมองเห็นความจำเป็นที่จะต้องฟื้นฟูความสัมพันธ์กับประเทศในภาคพื้นตะวันออกไกล เพื่อเตรียมตัวรับภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับภาคตะวันตกของประเทศ อีกด้านหนึ่ง คือ ญี่ปุ่น ซึ่งอยู่ระหว่างสงครามกับประเทศจีน และความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาก็เริ่มเลวร้ายลงไปทุกขณะ ดังนั้น ญี่ปุ่นจึงมีความต้องการที่จะปรองดองกับสหภาพโซเวียตเพื่อพัฒนาจุดยืนของตนในเวทีโลก และรักษาแนวชายแดนทางเหนือของแมนจูกัว จากการรุกรานของสหภาพโซเวียตที่อาจจะเกิดขึ้นได้

กติกาสัญญาดังกล่าวได้รับการลงนามที่กรุงมอสโก เมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1941 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่น นายโยะซุเกะ มะสึโอกะ และเอกอัครราชทูต โยชิสึกุ ทะเทกาวะ ซึ่งเป็นผู้แทนฝ่ายญี่ปุ่น และนายวียาเชสลาฟ โมโลตอฟ ซึ่งเป็นผู้แทนฝ่ายโซเวียต

สภาผู้บริหารสูงสุดแห่งโซเวียต ของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตและฝ่าละอองธุลีพระบาท จักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ได้มารวมกันด้วยความปรารถนาที่จะส่งเสริมสันติภาพและสัมพันธไมตรีระหว่างสองประเทศ ได้ตัดสินใจที่จะลงนามในข้อตกลงรักษาความเป็นกลาง เพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้:

ผู้ซึ่งหลังจากการแลกเปลี่ยนหนังสือแนะนำตัวกันแล้ว และได้รับการยืนยันอย่างเป็นทางการ ได้สรุปข้อตกลงดังต่อไปนี้:

ในการยืนยันของข้อตกลงที่ได้กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นจำนวนสองฉบับ ซึ่งได้ร่างขึ้นในภาษารัสเซียฉบับหนึ่งและในภาษาญี่ปุ่นอีกฉบับหนึ่ง และได้รับการประทับตราจากผู้แทนของทั้งสองฝ่าย ลงนามในกรุงมอสโก เมื่อวันที่ 13 เมษายน 1941 ซึ่งตรงกับ วันที่ 13 เดือน 4 ปีโชวะที่ 16, วี.โมโลตอฟ; โยะซุเกะ มัสซูโอกะ, โยชิสึกุ ทาเทกาวะ

สนธิสัญญาดังกล่าวได้ขยายตัวขึ้น โดยมีการเชื่อมโยงไปถึงมองโกเลียและแมนจูเรีย สหภาพโซเวียตได้รับประกันต่อความมั่นคงตามอาณาเขตของแมนจูกัว ขณะที่ญี่ปุ่นก็ได้รับประกันความมั่นคงแก่มองโกเลียด้วยเช่นกัน หลังจากนั้น ในปี 1941 ญี่ปุ่น ในฐานะผู้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาไตรภาคี มีความวิตกกังวลว่าควรจะมีการเพิกถอนสนธิสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากนาซีเยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา แต่ญี่ปุ่นก็ได้ตัดสินใจที่จะยังคงรักษาสัญญานี้ไว้ และจะขยายดินแดนไปทางใต้ และโจมตีอาณานิคมของชาติอาณานิคมยุโรปในทวีปเอเชียแทน

ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตได้ฉีกสนธิสัญญาดังกล่าว โดยแจ้งแก่รัฐบาลญี่ปุ่นว่า "ตามที่ในข้อสามได้กล่าวเอาไว้ 'ซึ่งได้เปิดโอกาสให้เพิกถอนสนธิสัญญาได้เป็นเวลาหนึ่งปีก่อนหน้าที่ระยะเวลาของสนธิสัญญาจะครบห้าปีตามกำหนด รัฐบาลโซเวียตได้ทราบดีว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะยังสามารถจำสนธิสัญญาในวันที่ 13 เมษายน 1941 นี้ได้'"

ในวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตประกาศสงครามต่อญี่ปุ่นในปฏิบัติการพายุสิงหาคม ซึ่งเป็นการรักษาสัญญาในที่ประชุมยัลต้า แก่ฝ่ายสัมพันธมิตร ที่จะเข้าสู่สงครามในเวลาสามเดือนหลังจากวันแห่งชัยชนะในทวีปยุโรป ญี่ปุ่นได้โต้แย้งว่า ขณะที่สหภาพโซเวียตชี้ให้เห็นถึงเนื้อหาของข้อสามว่าสนธิสัญญาดังกล่าวจะไม่ได้รับการต่ออายุ ปฏิบัติการพายุสิงหาคมก็ยังละเมิดต่อสนธิสัญญา ซึ่งยังไม่ครบวาระจนกว่าจะถึงวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1946


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187