ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

สนธิสัญญาแวร์เดิง

สนธิสัญญาแวร์เดิง (อังกฤษ: Treaty of Verdun) เป็นสนธิสัญญาระหว่างพระราชโอรสสามพระองค์ของหลุยส์เดอะไพอัส (พระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ) ในการแบ่งจักรวรรดิแฟรงค์ออกเป็นสามอาณาจักร แม้ว่าบางครั้งการแบ่งจักรวรรดิครั้งนี้จะเห็นกันว่าเป็นการทำลายจักรวรรดิมหาอำนาจที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาร์เลอมาญ แต่อันที่จริงแล้วเป็นการทำตามประเพณีเจอร์มานิคในการแบ่งทรัพย์ให้แก่ทายาทแต่ละคนเท่าๆ กันแทนที่จะใช้กฎการสืบสมบัติโดยสิทธิของบุตรคนแรก (primogeniture) ที่มอบสมบัติทั้งหมดให้แก่บุตรชายคนโตเท่านั้น

เมื่อหลุยส์เดอะไพอัสสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 840 โลแธร์ที่ 1 พระราชโอรสองค์โตก็อ้างสิทธิเหนือราชอาณาจักรของพระอนุชาอีกสองพระองค์และสนับสนุนสิทธิของพระนัดดาเปแปงที่ 2 ในการเป็นกษัตริย์แห่งอากีแตน หลังจากที่ทรงพ่ายแพ้ต่อพระอนุชาลุดวิกเดอะเยอรมันและชาร์ลส์เดอะบอลด์ในยุทธการฟงเตอแน (Battle of Fontenay) ในปี ค.ศ. 841 และทั้งสองพระองค์ทรงสาบานความเป็นพันธมิตรกันในคำสาบานสตราซบูร์ (Oaths of Strasbourg) ในปี ค.ศ. 842 แล้ว โลแธร์ที่ 1 ก็ทรงเต็มพระทัยมากขึ้นที่จะเข้าร่วมในการเจรจาต่อรอง พี่น้องแต่ละคนต่างก็มีอาณาจักรเป็นของตนเองแล้ว โลแธร์ครองอิตาลี, ลุดวิกเดอะเยอรมันครองบาวาเรีย และ ชาร์ลส์เดอะบอลด์ครองอากีแตน ผลของการเจรจาทำให้:

เมื่อโลแธร์สละราชสมบัติอิตาลีให้แก่พระราชโอรสองค์โตจักรพรรดิลุดวิกที่ 2 ในปี ค.ศ. 844 ลุดวิกก็ทรงแต่งตั้งให้พระราชบิดาขึ้เป็นจักรพรรดิร่วมในปี ค.ศ. 850 เมื่อโลแธร์เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 855 อาณาจักรก็ถูกแบ่งเป็นสามส่วนดินแดนที่จักรพรรดิลุดวิกครองอยู่ก็ยังเป็นของพระองค์ ราชอาณาจักรเบอร์กันดีเดิมก็มอบให้แก่พระราชโอรสองค์ที่สามชาร์ลส์แห่งพรอว็องส์และดินแดนที่เหลือแก่โลแธร์ที่ 2 ที่เรียกอาณาจักรของพระองค์ว่าโลธาริงเกีย

เมื่อจักรพรรดิลุดวิกที่ 2 ไม่ทรงพอใจที่ไม่ทรงได้รับดินแดนเพิ่มเมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคต พระองค์ก็ทรงหันไปเป็นพันธมิตรกับพระปิตุลาลุดวิกเดอะเยอรมัน ในการต่อต้านพระอนุชาโลแธร์และพระปิตุลาชาร์ลส์เดอะบอลด์ในปี ค.ศ. 858 แต่โลแธร์ก็มาคืนดีกับพระเชษฐาไม่นานหลังจากนั้น แต่ชาร์ลส์ทรงกลายเป็นผู้ที่ขาดความนิยมจนไม่สามารถรวบรวมกองทัพในการต่อต้านการรุกรานได้ ในที่สุดก็ต้องเสด็จหนีไปเบอร์กันดี สิ่งเดียวที่ช่วยพระองค์ไม่ให้เสียดินแดนก็เมื่อพระสังฆราชไม่ยอมสวมมงกุฎให้ลุดวิกเดอะเยอรมันเป็นกษัตริย์ในปี ค.ศ. 860 ชาร์ลส์เดอะบอลด์ก็ยกกำลังไปรุกรานราชอาณาจักรเบอร์กันดีของชาร์ลส์แห่งพรอว็องส์ แต่ทรงพ่ายแพ้ โลแธร์ที่ 2 ทรงยกดินแดนให้ลุดวิกที่ 2 ในปี ค.ศ. 862 เพื่อเป็นการตอบแทนในการที่ทรงสนับสนุนการหย่าร้างกับพระมเหสีของพระองค์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 1และพระปิตุลา ชาร์ลส์แห่งเบอร์กันดีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 863 ราชอาณาจักรของพระองค์ตกไปเป็นของลุดวิกที่ 2

โลแธร์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 869 โดยไม่มีทายาท ราชอาณาจักรของพระองค์ถูกแบ่งระหว่างชาร์ลส์เดอะบอลด์และลุดวิกเดอะเยอรมันตามสนธิสัญญาเมียร์เซน (Treaty of Meerssen) ในปี ค.ศ. 870 ขณะเดียวกันลุดวิกเดอะเยอรมันก็ทรงมีความขัดแย้งกับพระราชโอรสสามพระองค์ ลุดวิกที่ 2 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 875 โดยทรงแต่งตั้งให้คาร์โลมันแห่งบาวาเรีย พระราชโอรสองค์โตของลุดวิกเดอะเยอรมันเป็นทายาท ชาร์ลส์เดอะบอลด์ผู้ได้รับการสนับสนุนจากพระสันตะปาปาทรงได้รับการสวมมงกุฎเป็นพระมหากษัตริย์อิตาลีและจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ปีต่อมาลุดวิกเดอะเยอรมันก็เสด็จสวรรคต ชาร์ลส์เดอะบอลด์พยายามผนวกอาณาจักรของลุดวิกแต่ทรงพ่ายแพ้อย่างยับเยินที่อันเดอร์นาค ราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกจึงถูกแบ่งระหว่างลุดวิกผู้เยาว์ (Ludwig III der J?ngere), คาร์โลมันแห่งบาวาเรีย และ คาร์ลเดอร์ดิคเคอ หรือ ชาร์ลส์เดอะแฟท

การแบ่งแยกจักรวรรดิแฟรงค์โดยสนธิสัญญาแวร์เดิงมีอิทธิต่อความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุโรปมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะเป็นการแบ่งแยกที่มิได้คำนึงถึงความแตกต่างทางภาษาหรือวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น ราชอาณาจักรแฟรงค์กลางเป็นดินแดนที่มีเขตแดนที่ป้องกันยากเพราะมีเทือกเขาแอลป์คั่นอยู่ระหว่างกลางที่ทำให้การปกครองโดยประมุขคนเดียวทำได้ยาก จะมีก็แต่คาร์ลเดอร์ดิคเคอเท่านั้นที่ทรงทำได้แต่ก็เพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น ในปี ค.ศ. 855 อาณาบริเวณทางตอนเหนือของราชอาณาจักรแฟรงค์กลางก็แตกแยกจากกัน ที่กลายมาเป็นบริเวณความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสและเยอรมนีตลอดมา อาณาจักรที่กลายเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจก็ได้แก่ราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออกและราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันตกที่ปัจจุบันคือเยอรมนีและฝรั่งเศสตามลำดับ การล่มสลายของราชอาณาจักรแฟรงค์กลางเป็นผลทำให้เกิดความแตกแยกกันในอาณาจักรในคาบสมุทรอิตาลีมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187