ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

หน้าวัว

หน้าวัว (อังกฤษ: anthurium) เป็นสกุลของพืชในวงศ์บอน มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา ปัจจุบันกระจายพันธุ์ในเกือบทุกทวีป แต่จะเติบโตได้ดีในภูมิอากาศแบบร้อนหรือร้อนชื้นน (15 - 30 องศาเซลเซียส) จากฐานข้อมูลพืช ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557) ได้รายงานไว้ว่าเกี่ยวกับ "ชื่อค้นหา" ของคำว่า "หน้าวัว" ในประเทศไทยทั้งหมด 4 ชื่อ คือ

3. หน้าวัวไทย (เจ็ดทิวา, เดหลีใบกล้วย, Madonna lily, Peace lily หรือ Spathe flower) จัดอยู่ในวงศ์เดียวกับหน้าวัว แต่อยู่คนละสกุลกัน โดยหน้าวัวไทยจัดอยู่ในสกุล Spathiphyllum มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Spathiphyllum cannifolium (Dryand. ex Sims) Schott

คนไทยถือว่าดอกหน้าวัวเป็นดอกไม้อัปมงคลใช้ในงานศพ ไม่เหมาะที่จะมอบให้ในงานวันเกิด แม้ยุคสมัยจะเปลี่ยนไป ดอกหน้าวัวกลายเป็นพืชเศรษฐกิจ แต่ก็ควรจะหลีกเลี่ยงในการให้ในงานมงคล

ดอกหน้าวัว แทนความหมายของการต้อนรับขับสู้ด้วยความยินดี ในโอกาสที่ถูกเชิญไปเป็นแขก ผู้คนก็มักนิยมนำดอกไม้ชนิดนี้ติดไม้ติดมือไปฝากเจ้าของบ้านด้วยนั่นเอง ถ้าจะให้เป็นดอกไม้แทนใจแล้วละก็ความหมายของดอกหน้าวัวนั้นก็อาจจะฟังดูเศร้าไปหน่อย และความหมายแทนใจก็คือ “หญิงสาวผู้เหงาเศร้า แต่หยิ่งและทรนงค์ในศักดิ์ศรีของตัวเอง” แต่ถ้าจะให้เป็นดอกไม้แทนความรักแล้วละก็มีความหมายที่ดีไม่แพ้ใครเลยซึ่งความหมายนั่นก็คือ “ความรักที่มั่นคงและอดทน”

1.3 พันธุ์ที่มีจานรองดอกสีแดง พันธุ์ที่นิยมเป็นไม้ตัดดอกของเมืองไทย คือ พันธุ์ดวงสมร (พันธุ์นี้มีลักษณะของจานรองดอกสีแดงเข้ม รูปหัวใจ ปลีมีสีเหลือง เมื่ออายุมากขึ้นถึงแก่จะมีสีขาว)

1.4 พันธุ์ที่มีจานรองดอกสีส้ม เช่น พันธุ์สุหรานากง (มักใช้ประกวด) และพันธุ์ดาราทอง (มักใช้เป็นไม้กระถาง)

2. Anthurium schzerianum เป็นชนิดที่มีสีของจานรองดอกแตกต่างกัน และไม่ค่อยนิยมปลูกเลี้ยงในไทย เนื่องจากต้องการความเย็นและความชื้นสูงกว่า Anthurium andraeanum ส่วนใหญ่มักพบการปลูกเลี้ยงในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และสวิตเซอร์แลนด์

หน้าวัวเป็นไม้อายุหลายปี อวบน้ำลำต้นตรง โดยจะมีการแตกหน่อเลื้อยมีการเจริญยอดเดียว เมื่อยอดเจริญสูงขึ้นอาจพบรากบริเวณลำต้น โดยจะแตกเมือมีความชื้นเพียงพอ เนื่องจากเป็นพืชระบบรากอากาศสามารถดูดน้ำและความชื้นจากอากาศได้ดี

ส่วนช่อดอกของหน้าวัวหรือที่เรียกว่า ปลี คือ ส่วนที่เป็นดอกจริง ซึ่งประกอบด้วย ก้านช่อ ซึ่งมีดอกย่อยเล็กเรียงอัดแน่นอยู่บนปลี ดอกย่อยนี้เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ที่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย อยู่ในดอกเดียวกัน ดอกที่อยู่บนก้านดอกนี้จะมีสีต่างๆหลายสี

เมื่อจานรองดอกคลี่ปลีออกจะมีสีเหลืองอ่อน หรือสีปนแดง ตามสายพันธุ์ ดอกที่อยู่โคนปลีจะเปลี่ยนเป็นสีขาว ไล่ไปปลายปลี แสดงว่า ดอกบาน และเมื่อตุ่มยอดเกสรตัวเมียเริ่มมีน้ำเหนียว ๆ แสดงว่าดอกนั้นพร้อมที่จะผสมเกสรตัวผู้จะบานภายหลังเกสรตัวเมีย ดังนั้นหน้าวัวส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยมีโอกาสผสมตัวเอง ยกเว้นบางสายพันธุ์ นอกจาก นี้เกสรตัวผู้ของหน้าวัวลูกผสมส่วนใหญ่ จะมีเกสรตัวผู้ฟุ้งเมื่ออุณหภูมิเย็น โดยมากมักจะผสมในช่วงฤดูหนาว

การกระจายพันธุ์ดั้งเดิมอยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่ตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก ไปจนถึงตอนใต้ของประเทศอาร์เจนตินา รวมถึงบางส่วนของแคริบเบียน

ในสหรัฐ นิยมใช้หน้าวัวพันธุ์สีแดงและสีแดงอ่อนมาก โดยคิดเป็น 80% ส่วนอีก 20% เป็นสีชมพูและสีขาว

สามารถปลูกลงในกระถางที่มีการรองพื้นด้วย เครื่องปลูกที่โปร่ง เช่น กาบมะพร้าว ได้ หรือจะไปปลูกบนต้นไม้ ก้อนหินก็ได้เช่นกัน

1. โรคใบแห้ง อาจเกิดจากกรณีที่ได้รับแสงมากและนานเกินไป จนส่งผลให้ความชื้นในใบลดลง ทำให้เกิดอาหารแห้งและไหม้ได้ มักเกิดกับใบที่ค่อนข้างแก่ และเป็นใบระดับล่างๆ แต่ในกรณีที่เกิดกับใบที่ยังไม่แก่จัด และไม่ใช่ใบล่าง อาจมีสาเหตุเกิดมาจากเชื้อรา Phytophthora Collectotrichum หรือ Anthracnose

2. โรครากเน่า เกิดจากภาชนะหรืออุกรณ์ในการเพาะปลูกไม่เหมาะสม มีการระบายน้ำและอากาศไม่ดีนัก เป็นแหล่งที่เอื้ออำนวยเจริญเติบโตของเชื้อรา

3. โรคยอดเน่า มักพบกับหน้าวัวที่ปลูกในโรงเรือนที่อับ การระบายอากาศถ่ายเทไม่ดีเท่าที่ควร และมีเชื้อรา Phytophthora หรือ Bacteria เข้าทำลาย เมื่อเป็นมากเข้าทำให้หน้าวัวตายได้

4. โรคใบด่าง โรคนี้เป็นแล้วทำให้ใบที่เกิดใหม่มีลักษณะหน้าใบด้าน มีขนาดเล็กลง ถ้าต้นไหนเป็นควรกำจัดทิ้งโดยนำไปเผาไฟ

ดังนั้นการปลูกหน้าวัวควรมีโปรแกรมการฉีดยากันรา เดือนละ 1-2 ครั้ง ตอนช่วงฝน อาจฉีดเดือนละ 2 ครั้ง การฉีดยากันรา ไม่ควรใช้อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่ควรหมุนเวียนเปลี่ยนกันไป หรือถ้าทราบสาเหตุของโรคเน่ามาจากเชื้อใดก็สามารถเลือกใช้ยาได้ถูกต้อง เชื้อราพวก Phytophthora ก็ใช้พวกไดโฟลาเทน ถ้าเกิดจาก Collectotrichum ใช้เบนเลท และถ้าเกิดจาก Anthracnose ใช้ยาป้องกันกำจัดราชนิดใดก็ได้ ยกเว้นยาพวกกำมะถัน

1. เพลี้ยอ่อนและเพลี้ยแป้ง จะดูดน้ำเลี้ยงของส่วนใบและยอด นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นได้ที่ส่วนของดอกเช่นเดียวกัน

4. หอยทาก ศัตรูอีกชนิดหนึ่งที่ชอบกินใบต้นหน้าวัว ควรเก็บทิ้งให้หมดอย่าทุบให้แตก เพราะตัวเล็กๆ จะเจริญเติบโตต่อไป


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519