ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

หอคอยแห่งลอนดอน

หอคอยแห่งลอนดอน (อังกฤษ: Tower of London) เป็นพระราชวังหลวงและป้อมปราการตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเทมส์ในกรุงลอนดอนในอังกฤษ เป็นพระราชวังที่เดิมสร้างโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1078เป็นสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ พระราชวังเป็นรู้จักกันในนามว่า “หอคอยแห่งลอนดอน” หรือ “หอ” ในประวัติศาสตร์ ตัวปราสาทตั้งอยู่ภายในโบโรแห่งทาวเวอร์แฮมเล็ทส์และแยกจากด้านตะวันออกของนครหลวงลอนดอน (City of London) ด้วยลานโล่งที่เรียกว่าเนินหอคอยแห่งลอนดอน หรือ “ทาวเวอร์ฮิล” (Tower Hill)

หอคอยแห่งลอนดอนมักจะรู้จักกันในการเกี่ยวข้องกับหอขาว (White Tower) ซึ่งแต่เดิมเป็นหอสีขาวที่สร้างโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษในปี ค.ศ. 1078 แต่กลุ่มสิ่งก่อสร้างทั้งหมดของหอคอยแห่งลอนดอนตั้งอยู่รอบวงแหวนสองวงภายในกำแพงและคูป้องกันปราสาท

ตัวหอคอยใช้เป็นป้อม พระราชวังของพระมหากษัตริย์ และที่จำขังโดยเฉพาะสำหรับนักโทษที่มียศศักดิ์สูงเช่นพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1ก็เคยทรงถูกจำขังในหอคอยโดยพระราชินีนาถแมรี เป็นที่สำหรับประหารชีวิตและทรมาน คลังเก็บอาวุธ ท้องพระคลัง สวนสัตว์ โรงกษาปณ์หลวง หอเก็บเอกสาร หอดูดาว และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1303 เป็นที่เก็บรักษามงกุฏและเครื่องราชาภิเษกของสหราชอาณาจักร

หอคอยแห่งลอนดอนก่อตั้งโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษในปี ค.ศ. 1078 เมื่อมีพระราชโองการให้สร้างหอขาวภายในกำแพงเมืองด้านตะวันออกเฉียงใต้บนฝั่งแม่น้ำเทมส์ การสร้างหอเป็นทั้งการป้องกันการโจมตีของชาวเมืองที่ต้อต้านชาวนอร์มันและการป้องกันลอนดอนจากการรุกรานของข้าศึกจากภายนอก พระเจ้าวิลเลียมทรงสั่งให้ใช้หินจากแคนในฝรั่งเศสสร้างและทรงแต่งตั้งกันดัลฟบาทหลวงแห่งรอเชสเตอร์เป็นสถาปนิก

ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์ ทรงสร้างกำแพงรอบหอขาวและเริ่มการขุดคูรอบปราสาทโดยใช้น้ำจากแม่น้ำเทมส์แต่ไม่สำเร็จจนกระทั่งในรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 3 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยทรงจ้างสถาปนิกชาวดัตช์ผู้เชื่ยวชาญในการขุดคู นอกจากนั้นก็ยังทรงเสริมสร้างกำแพงให้แข็งแรงขึ้นและทรงทำให้หอคอยเป็นที่ประทับสำคัญโดยทรงสร้างพระราชวังแบบที่อยู่อาศัย (palatial buildings) ภายในกำแพงหอคอย การเสริมสร้างเสร็จสิ้นในระหว่างปี ค.ศ. 1275 ถึงปี ค.ศ. 1285 โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ผู้ทรงสร้างกำแพงรอบนอกและสร้างกำแพงรอบในเสร็จ ทำให้เป็นกำแพงสองชั้น และทรงถมคูเดิมและขุดคูใหม่รอบกำแพงรอบนอก หอคอยแห่งลอนดอนใช้เป็นพระราชฐานมาจนถึงพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เมื่อโอลิเวอร์ ครอมเวลล์สั่งให้รื้อส่วนที่เป็นพระราชวังทิ้ง

แฮมป์ตันคอร์ต • คิว • คิงส์แลงลีย์ • ลินลิทโกว์ • มาร์ลเบอระ • เมย์ • นอนซัช • โอตแลนส์ • ออสบอร์น • พลาเซ็นเทีย • ควีนส์เฮาส์ • ริบส์เดนโฮลต์ • ริชมอนด์ • รอยัลพาวิเลียน • ซาวอย • ซันนิงฮิลล์พาร์ก • หอคอยแห่งลอนดอน • เวสต์มินสเตอร์

ปราสาทและกำแพงเมืองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่กุยเน็ดด์  (ปราสาทบิวมาริส ? ปราสาทคายร์นาร์วอน ? ปราสาทคอนุย ? ปราสาทฮาร์เล็ค)  ? บริเวณอุตสาหกรรมเบลนาวอน

เกาะเฮนเดอร์สัน ? เกาะกอฟ และ เกาะอินอักเซสซิเบิล ? เซนต์จอร์จ, เบอร์มิวดา และ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187