ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ออริกาโน

ออริกาโน (อังกฤษ: Oregano; US: /ɔːˈrɛɡənoʊ, ə-/ หรือ UK: /ˌɒrɪˈɡɑːnoʊ/; ชื่อวิทยาศาสตร์: Origanum vulgare) เป็นพืชในสกุล Origanum ที่พบบ่อย อยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเขตอบอุ่นและทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของยูเรเชีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ออริกาโนเป็นพืชในวงศ์เดียวกับมินต์ ใช้เป็นเครื่องปรุงสำคัญในอาหารอิตาลี ใส่ในพิซซา ซอส อาหารจานผักและเนื้อสัตว์ทุกชนิด ใบสด ๆ มีกลิ่นหอมแรงแต่ไม่เท่ากับแบบแห้ง นิยมใช้แบบแห้งในการปรุงอาหารมากกว่า

ออริกาโนเป็นพืชยืนต้นมีเนื้อไม้ ความสูง 20–80 ซม. (8–31 นิ้ว) ลักษณะใบสีเขียวมะกอกรูปใบหอกออกตรงข้ามกัน ยาว 1–4 ซม. (1/2 – 1 1/2 นิ้ว) ดอกมีสีม่วงขนาด 3–4 มม. (1/8 – 3/16 นิ้ว) ผลิช่อในฤดูร้อน บางครั้งถูกเรียกว่ามาจอรัมป่า สามารถเติบโตเป็นฤดูกาลในพื้นที่อากาศหนาวเย็นแต่มักจะไม่รอดในฤดูหนาว ออริกาโนปลูกในต้นฤดูใบไม้ผลิ โดยเว้นระยะห่าง 30 ซม. (12 นิ้ว) ในดินที่ค่อนข้างแห้งและมีแสงแดดจัด มันจะเติบโตในช่วง pH ระหว่าง 6.0 (กรดอ่อน) และ 9.0 (ด่างอย่างแรง) โดยมีช่วงที่ต้องการระหว่าง 6.0 ถึง 8.0 เจริญได้ดีในภูมิอากาศทั่วไป โดยชอบสภาพอากาศที่ร้อนและค่อนข้างแห้ง

ออริกาโนเป็นคำในภาษาสเปนที่เริ่มใช้กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชื่อสกุล Origanum เป็นการถอดเป็นภาษาละตินของคำในภาษากรีกโบราณว่า "Ορίγανον" (orī́ganon) ซึ่งเป็นชื่อพืชเครื่องเทศที่บันทึกของฮิปพอคราทีสและอริสโตฟานเนสกล่าวถึงเมื่อประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล คำนี้เป็นคำผสมที่ประกอบด้วย ὄρος (óros) หมายถึง "ภูเขา" และ γάνος (gános) หมายถึง "ความสว่าง" ดังนั้นจึงแปลว่า "ความสว่างของภูเขา" ชื่อสปีชีส์ vulgare เป็นภาษาละตินหมายถึงทั่วไป นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน คาร์ล ฟอน ลินเนีย ตั้งชื่ออย่างเป็นระบบให้กับสปีชีส์ดังกล่าวในหนังสือ Species plantarum ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ค.ศ. 1753

ออริกาโนใช้ประกอบการทำอาหาร โดยใช้ส่วนของใบสำหรับปรุงรสชาติ ซึ่งเมื่อตากแห้งจะมีความเข้มข้นของกลิ่นรสมากกว่าใบสด มีรสแบบเอิร์ธโทน, อบอุ่น และขมเล็กน้อย ซึ่งออริกาโนที่มีคุณภาพดีอาจมีรสเข้มข้นจนเกือบทำให้ลิ้นชา แต่พันธุ์ที่ปรับให้เข้ากับสภาพอากาศที่หนาวเย็นอาจมีรสชาติน้อยกว่า ปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพภูมิอากาศ ฤดูกาล และองค์ประกอบของดิน ส่งผลต่อน้ำมันหอมระเหยที่มีอยู่ และผลกระทบนี้อาจมากกว่าความแตกต่างระหว่างชนิดพันธุ์ย่อยต่าง ๆ สารประกอบทางเคมีที่มีส่วนช่วยในการปรุงแต่งกลิ่นรส ได้แก่ คาร์วาครอล, ไทมอล, ลิโมนีน, ปินีน, โอซิมีน และแคริโอฟิลลีน

เป็นที่นิยมในการใช้เป็นเครื่องเทศหลักของอาหารอิตาลี ความนิยมในสหรัฐเริ่มต้นเมื่อทหารที่กลับมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้นำ "สมุนไพรพิซซา" กลับมาด้วย ซึ่งกล่าวกันว่าน่าจะรับประทานกันทางตอนใต้ของอิตาลีมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ มักใช้กับการอบ, ผัด หรือย่าง ผัก, เนื้อสัตว์ และปลา ออริกาโนเข้ากันได้ดีกับอาหารรสเผ็ดเป็นที่นิยมทางตอนใต้ของอิตาลี ส่วนในภาคเหนือของประเทศมีความนิยมน้อยกว่าเนื่องจากมักนิยมใช้มาจอรัม

ออริกาโนถูกใช้อย่างแพร่หลายในอาหารเมดิเตอร์เรเนียนและอาหารละตินอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาหารอาร์เจนตินา

ออริกาโนมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง เนื่องจากมีกรดฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์สูง ในการศึกษาในหลอดทดลอง ยังแสดงให้เห็นถึงฤทธิ์ต้านจุลชีพในการต่อต้านเชื้อ Listeria monocytogenes ที่ก่อโรคในอาหาร

ในการแพทย์พื้นบ้านของนอร์เวย์ มีการใช้งานหลายวิธี บันทึกของแพทย์และนักประวัติศาสตร์การแพทย์ Ingjald Reichborn-Kjennerud ระบุว่า "ต้มในไวน์ใช้สร้างความอบอุ่นแก้ภาวะเฉื่อยชาในฤดูหนาวทุกชนิด บดผสมกับน้ำผึ้งสำหรับแก้อาการไอ เปลือกต้นชงดื่มแก้อาการเจ็บคอ, กำจัดพยาธิ และช่วยในการมองเห็น ใบเคี้ยวเพื่อแก้ปวดฟัน"

น้ำมันออริกาโนถูกนำมาใช้โดยแพทย์พื้นบ้านมานานหลายศตวรรษ น้ำมันหอมระเหยสกัดจากส่วนใบของออริกาโน ออริกาโนหรือน้ำมันจากออริกาโนอาจใช้เป็นอาหารเสริม แต่ก็ไม่มีหลักฐานทางคลินิกที่บ่งชี้ผลใด ๆ ต่อสุขภาพ

ในเอเชียกลาง ออริกาโนเป็นพืชน้ำหวานที่ให้ผลผลิตน้ำผึ้งที่มีคุณภาพดี สมุนไพรออริกาโนแห้งใช้ในการเลี้ยงผึ้งเพื่อต่อสู้กับมอดขี้ผึ้งและมด


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519