ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

อักษรแอกแคด

อักษรแอกแคด (อังกฤษ: Akkadian scripts) หลังจากชาวซูเมอร์ประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มขึ้นใช้ อักษรแบบนี้ได้แพร่หลายไปยังกลุ่มชนใกล้เคียงเมื่อประมาณ 1,957 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวแอกแคดที่พูดภาษาตระกูลเซมิติก และอยู่ทางเหนือของซูเมอร์ได้นำอักษรรูปลิ่มไปใช้เขียนภาษาของตน การที่ชาวแอกแคดเข้ามามีอำนาจเหนือซูเมอร์เมื่อราว 1,757 ปี ก่อนพุทธศักราชและตั้งราชวงศ์แอกแคดน กำหนดให้ภาษาแอกแคดเป็นภาษาทางการในเมโสโปเตเมีย ทำให้ภาษาซูเมอร์ค่อย ๆ ลดความสำคัญลงจนกลายเป็นภาษาตาย ส่วนภาษาแอกแคดยังใช้ต่อมาอีก 2,000 ปี โดยพัฒนามาอยู่ในรูปแบบที่เรียกภาษาบาบิโลเนียและภาษาอัสซีเรีย

ภาษาซูเมอร์กับภาษาแอกแคดแตกต่างกันมาก ภาษาซูเมอร์เป็นภาษารูปคำติดต่อซึ่งไม่มีการผันคำแต่ใช้การเติมปัจจัยหรืออนุภาคเข้ามาทำให้คำกลายเป็นวลีที่มีความหมายซับซ้อนขึ้น ภาษาแอกแคดเป็นภาษาที่มีการผันคำจากรากศัพท์ เพื่อสร้างคำใหม่ที่ใกล้เคียงกับคำเดิมแต่ความหมายเปลี่ยนไป โดยทั่วไป ภาษาตระกูลเซมิติก (รวมทั้งภาษาแอกแคด) รากศัพท์จะเป็นลำดับของพยัญชนะ 3 ตัว การผันคำใช้การเติมเสียงสระเข้าไประหว่างพยัญชนะ หรือโดยลงอาคมและวิภัติปัจจัย ตัวอย่างจากภาษาอาหรับ รากศัพท์ ktb แสดงแนวคิดของการเขียน เมื่อผันคำนี้จะได้คำที่หมายถึงการเขียนมากมายเช่น /kit?b/ "หนังสือ", /kutub/ "หนังสือหลายเล่ม", /k?tib/ "นักเขียน", /kataba/ "เขาเขียน" และอื่นๆ ในขณะที่ภาษาซูเมอร์ การวางรูปอักษรต่อเนื่องกันเพื่อสร้างประโยคจึงทำได้แต่ภาษาแอกแคดไม่อาจใช้วิธีเดียวกันนี้เพื่อกำหนดความหมายของคำให้ถูกต้อง เพื่อสร้างแบบการผันคำ จึงกำหนดสัญลักษณ์บางตัวใช้แสดงเสียงของคำมากกว่าความหมายจึงทำให้อักษรแอกแคดเป็นอักษรพยางค์

ในภาษาซูเมอร์ สัญลักษณ์หลายตัวเขียนต่างกันแต่แทนเสียงเดียวกัน เพราะมีคำโดดเป็นจำนวนมาก เมื่อชาวแอกแคดนำระบบของชาวซูเมอร์มาใช้ คำพ้องเสียงเหล่านี้จึงติดมาด้วย มีสัญลักษณ์สำหรับพยางค์โครงสร้าง พยัญชนะ-สระ-พยัญชนะ (CVC) อีกวิธีหนึ่งใช้การเขียนพยางค์ที่เริ่มด้วยเสียงพยัญชนะแล้วต่อด้วยพยางค์ที่ลงท้ายด้วยเสียงพยัญชนะ (Cv-VC) โดยพยางค์ทั้งสองต้องมีเสียงสระเหมือนกัน

อักษรคำเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำหรือหน่วยย่อยของภาษา ศัพท์กำหนดเป็นสัญลักษณ์ที่ไม่ออกเสียงใช้แสดงความหมายโดยทั่วไปของคำที่ตามมา ทั้งอักษรคำและศัพท์กำหนดจัดเป็นกลุ่มเดียวกัน ศัพท์กำหนดเกือบทั้งหมดมาจากอักษรคำ แต่บางสัญลักษณ์อาจทำหน้าที่ได้มากกว่า 1 อย่าง

สัญลักษณ์ตัวเดียวกันอาจแสดงคำต่างกันได้ ลักษณะนี้เริ่มพบในภาษาซูเมอร์ เมื่ออักษรคำเดียวกันใช้เขียนแทนคำที่เกี่ยวข้องกันแต่ออกเสียงต่างกัน การบ่งชี้ถึงความแตกต่างนี้ บริบทของคำจะมีความสำคัญมาก วิธีการหนึ่งที่ใช้บ่งชี้คำที่อักษรนั้นอ้างถึงคือส่วนเพิ่มของเสียง เป็นสัญลักษณ์ที่บอกถึงเสียงของอักษรนั้นๆและช่วยให้ผู้อ่านจำแนกคำได้ ตัวอย่างเช่น สัญลักษณ์ AN-? แสดงว่าเป็นคำ ?am?, ไม่ใช่ Anum อีกวิธีหนึ่งคือศัพท์กำหนด เช่น ลำดับ K?-DINGIR-RA ตามด้วยศัพท์กำหนด KI แสดงว่านี่เป็นชื่อเมือง มีเมืองเดียวที่เขียนว่า K?-DINGIR-RA, คือเมืองบาบิโลน ที่จริงแล้วอักษร K? แสดงคำ babu ("ทางเข้า"), DINGIR หมายถึง ilum ("พระเจ้า"), และ RA แสดงการกแสดงความเป็นเจ้าของในภาษาซูเมอร์ใช้กับพระเจ้าลำดับข้างต้นจึงหมายถึง Babilum, หรือ "ทางเข้าของพระเจ้า", เทพเจ้าควรเป็นเทพมารดุคซึ่งเป็นเทพเจ้าของกรุงบาบิโลน

ด้วยธรรมชาติของการผันคำในภาษาแอกแคด อักษรคำจะแสดงรากศัพท์ของคำ เมื่อมีการผันจะเพิ่มส่วนเพิ่มของเสียงเข้าไปเพื่อแสดงคำที่ได้จากการผัน

อักษรแอกแคดเป็นระบบอักษรที่ซับซ้อนมาก สัญลักษณ์ที่ใช้มีราว 200 – 400 ตัว (ทั้งหมด 700 -800 ตัว) คำพ้องเสียงและการใช้สัญลักษณ์ที่มีหลายหน้าที่ ทำให้อักษรแอกแคดมีหลายวิธีในการสะกดเสียงเดียวกัน อักษรนี้เป็นระบบการเขียนที่สำคัญระบบหนึ่งในตะวันออกกลางยุคโบราณ ทำให้ประวัติศาสตร์ โบราณคดี และศาสตร์ต่าง ๆ ของเมโสโปเตเมียเป็นที่รู้จักในปัจจุบัน

พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187