ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

อาณาจักรน่านเจ้า

อาณาจักรน่านเจ้า หรือเจ้าทางใต้ (จีน: ??) หรือจีนเรียกว่า สานสานโกวะ ตั้งขึ้นประมาณ พ.ศ. 1192 โดยพระเจ้าสีนุโล แห่งเหม่งแซ ต่อมาพระเจ้าพีล่อโก๊ะได้รวบรวมเมืองต่างๆ ที่แยกกันตั้งอยู่เป็นอิสระ 6 แคว้นคือ เหม่งแซ (Mengshe;??) ม่งซุย (Mengsui;??) ลางเซียง (Langqiong;??) เต็งตัน (Dengtan;??) ซีล่าง (Shilang;??) และ ยู่ซี (Yuexi;??) เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเหม่งแซได้สำเร็จ ตั้งเป็นอาณาจักรใหม่ขึ้น เรียกว่า อาณาจักรน่านเจ้า ในยุคแรกๆนั้น น่านเจ้าก็มีสัมพันธ์กับรัฐรอบๆ ทั้งราชวงศ์ฝ่ายใต้ของจีน และแคว้นเล็กๆในสุวรรณภูมิ

ในรัชกาลของจักรพรรดิถังเสวียนจง [พ.ศ. 1255-1299] ราชสำนักถังพยายามขยายอำนาจลงใต้ และมีการส่งกองทัพมาพิชิตอาณาจักรน่านเจ้า 2 ครั้งใหญ่ๆ แต่กองทัพถังก็พ่ายแพ้ยับเยินกลับไป

พ.ศ. 1291 พระเจ้าโก๊ะล่อฝง ก็ทรงส่งกองทัพไปโจมตีราชวงศ์ถังบ้าง เพื่อขยายอำนาจ กองทัพน่านเจ้าประสบชัยชนะใหญ่ๆหลายครั้ง เพราะราชสำนักถังเริ่มอ่อนแอลง จวบจนเมื่อเกิดกบฏอันลู่ซานในช่วงปลายรัชสมัยของจักรพรรดิถังเสวียนจง กองทัพถังก็ต้องเจรจาและยอมรับอำนาจของพระเจ้าโก๊ะล่อฝงในแดนใต้

พ.ศ. 1372 กองทัพน่านเจ้าสามารถบุกลึกเข้าไปถึงใจกลางมณฑลเสฉวน และยึดเอาเฉิงตูเมืองเอกของมณฑลมาได้ สร้างความพรั่นพรึงให้ราชสำนักถังมาก ภายหลังจากรัชสมัยของพระเจ้าโก๊ะล่อฝง น่านเจ้าก็ค่อยๆอ่อนแอลง แต่ก็ยังมีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาอีกหลายพระองค์ ทว่ากษัตริย์พระองค์ต่อๆมามักตกอยู่ในวังวนของการชิงอำนาจระหว่างชนเผ่าต่างๆในอาณาจักร รวมถึงการแย่งชิงอำนาจของตระกูลขุนนาง จวบจนถึงปี พ.ศ. 1445 อาณาจักรน่านเจ้าก็ล่มสลายลง จากการก่อกบฏของชนเผ่าต่างๆในอาณาจักร ดินแดนยูนนานจึงกลายเป็นสุญญากาศทางอำนาจไปอีกหลายปี ก่อนที่ ต้วนซีผิง จะนำชาวเผ่าไป๋และเผ่าพันธมิตรลุกขึ้นรวบรวมดินแดนในยูนนานเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง และก่อตั้งอาณาจักรใหม่ที่ชื่อว่า อาณาจักรต้าหลี่ ขึ้นมาแทนในปี พ.ศ. 1480

ในยุครุ่งเรืองนั้นอาณาจักรน่านเจ้า มีอาณาเขตกว้างขวาง คือเขตมณฑลยูนนานทั้งหมด รวมแคว้นสิบสองปันนาด้วย กล่าวคือ ทิศเหนือจดมณฑลเสฉวน ทิศใต้ จดพม่า ญวน ทิศตะวันออกจดดินแดนไกวเจา กวางสี ตังเกี๋ย ทิศตะวันตก จดพม่า ทิเบต มีกษัตริย์ปกครองอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นกับแคว้นใดได้ยาวนานหลายร้อยปี

นักวิชาการทางประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยาในอดีต เคยมีแนวความคิดว่า คนในอาณาจักรน่านเจ้านั้นน่าจะเป็นคนไทยหรือบรรพบุรุษของคนไทยในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากอ้างอิงมาจากหลักฐานทางโบราณคดีของจีน อาทิ วิลเลียม เจ.เกดนีย์ นักวิชาการชาวอเมริกัน, ดร.บรรจบ พันธุเมธา และ ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร นักวิชาการชาวไทย ได้ข้อสรุปว่าเป็นถิ่นที่คนไทอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งต่อมาได้มีการผสมผสานระหว่างชาติพันธุ์อื่น และอพยพลงมาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิอย่างในปัจจุบัน ซึ่งแนวความคิดนี้ได้รับการสนับสนุนจาก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อคราวไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2518

แต่ก็มีข้อแย้งเป็นจำนวนมากเช่นเดียวกัน อาทิ ศ.เฟดเดอริก โมต หรือ ชาร์ลส์ แบกคัส รวมทั้งนักวิชาการชาวไทย ดร.วินัย พงษ์ศรีเพียร มีความเห็นว่าไม่น่าจะใช่เป็นคนไทย โดยอ้างว่าภาษาที่ใช้ในอาณาจักรน่านเจ้าที่ปรากฏในหนังสือหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เขียนขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15 มีลักษณะคล้ายภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า มากกว่า และมีส่วนที่คล้ายภาษาไทยซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาไทกะไดน้อยมาก และวัฒนธรรมการเอาพยางค์สุดท้ายของพ่อมาตั้งเป็นชื่อพยางค์แรกของลูก เช่น พีล่อโก๊ะ เป็น โก๊ะล่อฝง ก็เป็นวัฒนธรรมร่วมกับวัฒนธรรมชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่า ด้วยเช่นกัน

แต่ในประเด็นนี้ ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร ยังเห็นแย้งว่า ข้อพิสูจน์นี้ยังไม่หนักแน่นพอ เพราะระยะเวลาที่ผ่านไปหลายร้อยปี ธรรมเนียมบางอย่างอาจแปรเปลี่ยนไป โดย ศ.ดร.ประเสริฐ ยังไม่ยอมรับทั้งหมดว่า ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาณาจักรน่านเจ้ามิใช่คนไทย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187