ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม

โดมแห่งศิลา (อาหรับ: مسجد قبة الصخرة, ทับศัพท์: กุบบะฮ์ อัชซักรอฮ์, ฮีบรู: כיפת הסלע, ทับศัพท์: Kipat Hasela, อังกฤษ: Dome of the Rock) เป็นศาสนสถานของศาสนาอิสลามที่เป็นที่ตั้งของศิลาฤกษ์ (Foundation Stone), เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของศาสนายูดาห์ และเป็นสิ่งก่อสร้างที่เด่นที่สุดบนเนินพระวิหารในกรุงเยรูซาเลม โดมทองสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 691 ซึ่งทำให้เป็นสิ่งก่อสร้างของอิสลามที่เก่าที่สุดในโลก

โดมทองตั้งเด่นอยู่บนเนินที่สร้างโดยมนุษย์ในสมัยโบราณที่เรียกว่าเท็มเพิลเมานท์ที่ชาวมุสลิมเรียกว่า “Noble Sanctuary” เนินสูงขยายใหญ่ขึ้นเป็นอันมากในรัชสมัยของพระเจ้าแฮรอดมหาราชเพื่อใช้เป็นที่สร้างพระวิหารที่สองที่ต่อมาถูกทำลายโดยโรมันระหว่างการล้อมกรุงเยรูซาเลมในปี ค.ศ. 70 ในปี ค.ศ. 637 เยรูซาเลมก็ถูกพิชิตโดยกองทัพของจักรวรรดิราชิดันระหว่างการรุกรานของอิสลามในจักรวรรดิไบแซนไทน์

โดมทองก่อสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 685 จนถึง ค.ศ. 691 โดยมี ยาซิด อิบุน ซาลาม จากเยรูซาเลม และ ราชา อิบุน เฮย์วาห์จากเบย์ซาน (Baysan) กาหลิบอุมัยยะห์อับด อัล-มาลิค (عبد الملك بن مروان‎ - Abd al-Malik) ผู้ริเริ่มโครงการหวังว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้เป็นสถานที่สำหรับ “พำนักของมุสลิมทั้งยามหนาวและร้อน” และเป็นสถานที่สักการะสำหรับนักแสวงบุญที่ไม่แต่จะเป็นเพียงมัสยิดสำหรับการสักการะโดยทั่วไปเท่านั้น นักประวัติศาสตร์โต้ว่าการโครงการการก่อสร้างของกาหลิบอัล-มาลิคเป็นโครงการเพื่อแข่งขันกับสิ่งก่อสร้างทางศาสนาอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วในเยรูซาเลมในขณะนั้น นักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับอัล-มูคัดดาซิ (محمد بن أحمد شمس الدين المقدسي‎‎ - Al-Muqaddasi) บันทึกว่ากาหลิบอัล-มาลิค

”ตั้งใจจะสร้างสิ่งก่อสร้างสำหรับชาวมุสลิมในลักษณะของ “มัสยิด” ที่มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์และเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และในบริบทนี้เมื่อ[กาหลิบอัล-มาลิค]เห็นความสง่างามของโบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์ แล้วไม่ต้องการที่จะให้เป็นที่ดึงดูดชาวมุสลิม จึงทำให้[กาหลิบอัล-มาลิค]ไปสร้างสิ่งก่อสร้างบนเนินที่เห็นกันในขณะนี้”

ศาสตราจารย์ชโลโม โดฟ กอยไทน์ (Shlomo Dov Goitein) แห่งมหาวิทยาลัยฮิบรูกล่าวว่าโดมทองเป็นการก่อสร้างเพื่อเป็นการแข่งขันกับศาสนสถานของศาสนาอื่น ๆ ที่ตั้งเด่นอยู่ในเยรูซาเลมในขณะนั้น โดยเฉพาะการใช้โดมใหญ่ (rotunda) ที่ใช้ในการก่อสร้างโดมทอง (Qubbat as-Sakhra) ซึ่งเป็นลักษณะการก่อสร้างแบบใหม่สำหรับสถาปัตยกรรมอิสลามเป็นการสร้างเพื่อแข่งกับสิ่งก่อสร้างที่เป็นโดมของโบสถ์คริสต์ เอ.ซี. เครสเวลล์ตั้งข้อสังเกตในหนังสือ Origin of the plan of the Dome of the Rock (ที่มาของผังการก่อสร้างโดมแห่งศิลา) ว่าผู้สร้างโดมทองใช้การวัดสัดส่วนจากพระคูหาศักดิ์สิทธิ์ เส้นผ่าศูนย์กลางของโดมคือ 20 เมตร 20 เซนติเมตร และสูง 20เมตร 48 เซนติเมตร ขณะที่เส้นผ่าศูนย์กลางของโดมของพระคูหาศักดิ์สิทธิ์คือ 20 เมตร 90 เซนติเมตร และสูง 21 เมตร 5 เซนติเมตร มาร์ค ครินสันผู้เชี่ยวชาญทางสถาปัตยกรรมจักรวรรดินิยมมีความเห็นว่าโดมทองเป็น “ตัวอย่างของสิ่งก่อสร้างแบบเผยแพร่ลัทธิและแสดงอำนาจทางการเมืองที่ภายนอกตกแต่งด้วยคำจารึกของประมุขมุสลิมที่เข้ามาใหม่ที่จงใจให้เป็นที่เห็นโดยชาวคริสเตียนที่อยู่ในท้องถิ่น”

ทรงสิ่งก่อสร้างเป็นแปดเหลี่ยมที่ตอนบนเป็นโดมไม้ที่ตั้งอยู่บนเสา 16 เสา รอบโดมด้านล่างเป็นโค้งแปดเหลี่ยมที่รับโดยเสาอีก 24 เสา ระหว่างที่นักเขียนชาวอเมริกันมาร์ค เทวนท่องเที่ยวในเยรูซาเลมก็ได้เขียนบันทึกว่า:

”ทุกหนทุกแห่งรอบมัสยิดแห่งโอมาร์เต็มไปด้วยชิ้นส่วนของเสา แท่นบูชาลักษณะแปลก และซากหินอ่อนที่แกะอย่างงดงาม - สิ่งที่มีคุณค่าจากพระวิหารโซโลมอน สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ถูกขุดขึ้นมาจากระดับต่าง ๆ ของผิวดินและเศษขยะจากโมริยะห์ และชาวมุสลิมก็เก็บรักษาไว้ด้วยความระมัดระวังเป็นอย่างดี”

ด้านนอกของโดมทองทำด้วยกระเบื้องเคลือบ และสะท้อนทรงแปดเหลี่ยมของสิ่งก่อสร้าง แต่ละช่วงมีขนาดกว้าง 18 เมตร และสูง 11 เมตร ทั้งโดมและผนังมีหน้าต่างเป็นระยะ ๆ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187