ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

เมอร์เซีย

ราชอาณาจักรเมอร์เซีย (อังกฤษ: Mercia) เป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนเจ็ดอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่ในลุ่มแม่น้ำแม่น้ำเทร้นท์และในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นอังกฤษมิดแลนด์ส (English Midlands) ชื่อเมอร์เซียเป็นภาษาอังกฤษเก่า “Mierce” ที่แผลงเป็นแบบละติน (Latinization) แปลว่า “ชนชายแดน”

ราชอาณาจักรเมอร์เซียมีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย, เพาวิส, ราชอาณาจักรต่างๆ ทางตอนใต้ของเวลส์, เวสเซ็กซ์, ซัสเซ็กซ์, เอสเซ็กซ์ และ อีสต์แองเกลีย

ทุกวันนี้ชื่อ “เมอร์เซีย” ยังใช้กันทั่วไปในชื่อองค์การต่างๆ ได้แก่ หน่วยทหาร หรือองค์การทั้งของรัฐและของเอกชน

บทบาทของเมอร์เซียในประวัติศาสตร์แองโกล-แซ็กซอนไม่ชัดเจนเช่นประวัติศาสตร์ของการรุกรานของนอร์ทธัมเบรีย, เค้นท์ หรือแม้แต่เวสเซ็กซ์ หลักฐานทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่าชนแองเกิล (Angles) มาตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของแม่น้ำเทมส์ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 คำว่าเมอร์เซียเป็นภาษาอังกฤษเก่า “Mierce” ที่เพี้ยนมาจากภาษาละตินที่แปลว่า “ชนชายแดน” และตามที่ตีความหมายกันก็ว่าเป็นอาณาจักรที่มีกำเนิดในบริเวณพรมแดนระหว่างเวลส์และผู้รุกรานชาวแองโกล-แซ็กซอนแต่พี. ฮันเตอร์ แบลร์ (P. Hunter Blair) ค้านว่าเป็นบริเวณพรมแดนระหว่างนอร์ทธัมเบรียกับผู้ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำเทร้นท์

พระมหากษัตริย์องค์แรกที่สุดของเมอร์เซียเท่าที่ทราบคือเครโอดาแห่งเมอร์เซียผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นพระนัดดาของไอเซิล เครโอดามีอำนาจราว ปี ค.ศ. 584 และทรงเป็นผู้สร้างป้อมที่แทมเวิร์ธที่กลายมาเป็นที่ตั้งมั่นของพระมหากษัตริย์เมอร์เซีย ประมุของค์ต่อมาคือพระโอรส Pybba ผู้ครองราชย์ราวปี ค.ศ. 593. เคิร์ลแห่งเมอร์เซียพระญาติของเครโอดาครองราชย์ต่อจาก Pybbaราว ปี ค.ศ. 606; ในปี ค.ศ. 615 เคิร์ลยกพระธิดา Cwenburga ให้เสกสมรสกับเอ็ดวินแห่งนอร์ทธัมเบรียพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรไดราผู้ที่ให้ที่พำนักแก่พระองค์เมื่อทรงลี้ภัย พระเจ้าแผ่นดินองค์ต่อมาคือเพ็นดาแห่งเมอร์เซียผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 626 หรือ ค.ศ. 633 ถึง ค.ศ. 655 ประวัติในทางร้ายของเพ็นดามาจากบันทึกของนักบุญบีดที่ไม่ชอบพระองค์เพราะทรงเป็นทั้งศัตรูของนอร์ทธัมเบรียที่นักบุญบีดพำนักอยู่และเพราะเป็นพระมหากษัตริย์นอกรีต แต่ก็ยอมรับว่าเพ็นดาเป็นผู้ที่อนุญาตให้ผู้เผยแพร่คริสต์ศาสนาจากลินดิสฟาร์นเข้าไปเผยแพร่ศาสนาในเมอร์เซียโดยมิได้ห้ามปราม หลังจากการได้รับชัยชนะหลายครั้งต่อผู้รุกรานเพ็นดาก็มาพ่ายแพ้และถูกปลงพระชนม์ในยุทธการวินเวด (Battle of Winwaed) โดยออสวีแห่งนอร์ทธัมเบรีย (Oswiu of Northumbria) ในปี ค.ศ. 655

ความพ่ายแพ้นำไปสู่การสิ้นสุดอำนาจของเมอร์เซียอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พีดา (Peada) ผู้เปลี่ยนไปนับถือคริสต์ศาสนาขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 653) แต่ในฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 656 พระองค์ก็ทรงถูกสังหาร ออสวีจึงเข้ายึดครองเมอร์เซียทั้งหมด ในปี ค.ศ. 658 ก็เกิดการต่อต้านที่พระโอรสของเพ็นดาวูล์ฟแฮร์แห่งเมอร์เซียได้รับชัยชนะและครองเมอร์เซียจนสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 675 ราชอาณาจักรเมอร์เซียหลังจากวูล์ฟแฮร์ได้รับชัยชนะก็มีความแข็งแกร่งแต่ต่อมาก็พ่ายแพ้ต่อนอร์ทธัมเบรีย กษัตริย์ต่อมาอีกสององค์เอเธลเรด และเซนเรด โอรสของวูล์ฟแฮร์เป็นที่รู้จักกันทางด้านพระราชกรณียกิจทางศาสนา หลังจากนั้นเซโอลเรดก็ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 709 ที่นักบุญบอนนิเฟซกล่าวถึงว่าเป็นชายหนุ่มที่มีปัญหาและเสียชีวิตจากการเสียพระสติซึ่งเป็นการสิ้นสุดผู้ครองเมอร์เซียที่สืบเชื้อสายของเพ็นดา

บาหลวงองค์แรกของเมอร์เซียคือเช็ดดาหรือที่เรียกกันว่าแชดแห่งเมอร์เซียเป็นผู้ก่อตั้งสังฆมลฑลลิชฟิลด์

ก่อนที่เอเธลบอลด์แห่งเมอร์เซียขึ้นครองราชย์เมอร์เซียได้รับชัยชนะต่อบริเวณรอบๆ ร็อกซีเตอร์ (Wroxeter) ที่รู้จักกันในบรรดาชาวเวลส์ว่า “สวรรค์แห่งเพาวิส”

พระมหากษัตริย์ของเมอร์เซียองค์สำคัญต่อมาคือเอเธลบอลด์ผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 716 ถึง ค.ศ. 757 ในสองสามปีแรกของการปกครองพระองค์ต้องทรงเผชิญหน้ากับพระมหากษัตริย์คู่อริวิห์เรดแห่งเค้นท์ และไอนิแห่งเวสเซ็กซ์ แต่เมื่อวิห์เรดสวรรคตในปี ค.ศ. 725 และไอนิสละราชสมบัติปีต่อมาเพื่อไปเป็นนักบวชในกรุงโรม เอเธลบอลด์ก็มีเสรีภาพที่จะสร้างอำนาจของแองโกล-แซ็กซอนทางตอนใต้ของแม่น้ำฮัมเบอร์ ความสามารถทางการเป็นผู้นำทางการทหารทำให้เอเธลบอลด์ได้รับสมญาว่า “Bretwalda” แต่อำนาจของเอเธลบอลด์ก็มาถอยลงเมื่อ ปี ค.ศ. 752 เมื่อทรงพ่ายแพ้ต่อคัธเรดแห่งเวสเซ็กซ แต่ก็สามารถยึดอำนาจคืนได้และมีอำนาจเหนือเวสเซ็กซในปี ค.ศ. 757


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519